สะพานริโอ–อันตีร์ริโอ

พิกัด: 38°19′17″N 21°46′22″E / 38.32139°N 21.77278°E / 38.32139; 21.77278
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สะพานรีโอ–อันตีร์ริโอ
Γέφυρα Ρίου–Αντιρρίου
พิกัด38°19′17″N 21°46′22″E / 38.32139°N 21.77278°E / 38.32139; 21.77278
เส้นทางมอเตอร์เวย์สาย 5, ทางหลวงยุโรปสาย E55, ทางหลวงยุโรปสาย E65
ขนาด 4 ช่องจราจร (ฝั่งละ 2 ช่อง)
ข้ามอ่าวคอรินท์
ที่ตั้ง
ชื่อทางการสะพานชาริลอส ไตรกูปิส (Charilaos Trikoupis Bridge)
เจ้าของรัฐบาลกรีซ
ผู้ดูแลเกฟีรา เอส.เอ (Gefyra SA)
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานขึง
ความยาว2,880 เมตร (9,450 ฟุต)
ความกว้าง27.2 เมตร (89 ฟุต)
ช่วงยาวที่สุด560 เมตร (1,840 ฟุต)
ประวัติ
ผู้ออกแบบเบิดจ์ มิคาอิเลี่ยน (Berdj Mikaelian)
ผู้สร้างวินซี เอสเอ (Vinci SA)
วันเปิด12 สิงหาคม พ.ศ. 2547
สถิติ
ค่าผ่านรถยนต์: €13.70
รถจักรยานยนต์: €2.00
รถโค้ช: €32.00–69.00
รถบรรทุก: €21.00–43.00
ที่ตั้ง
แผนที่

สะพานรีโอ–อันตีร์ริโอ (อังกฤษ: Rio–Antirrio Bridge; กรีก: Γέφυρα Ρίου–Αντιρρίου) ชื่อทางการคือ สะพานชาริลอส ไตรกูปิส (อังกฤษ: Charilaos Trikoupis) เป็นหนึ่งในสะพานขึงแบบหลายช่วงที่ยาวที่สุดในโลก สะพานนี้ข้ามอ่าวคอรินท์ ใกล้กับเมืองเพทรัส เชื่อมระหว่างเมืองรีโอ บนคาบสมุทรเพโลพอนนีส กับเมืองแอนตีร์ริโอ บนแผ่นดินใหญ่ของกรีซ เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการในหนึ่งวันก่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนปี 2004 ที่กรุงเอเธนส์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 และถูกใช้ในการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การก่อสร้าง[แก้]

พิธีเปิด[แก้]

สะพานนี้เปิดใช้เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2547 หนึ่งสัปดาห์ก่อนพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน พ.ศ. 2547 ในกรุงเอเธนส์ ผู้ถือคบเพลิงโอลิมปิกเป็นคนแรกที่ข้ามสะพานอย่างเป็นทางการ หนึ่งในนั้นคืออ็อตโต เรฮาเกล โค้ชฟุตบอลชาวเยอรมันผู้คว้าแชมป์ยูโร 2004 ให้กับกรีซ อีกคนหนึ่งคือคอสตาส ลาลิโอติส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงโยธาธิการในช่วงที่โครงการนี้ได้เริ่มก่อสร้างขึ้น

ความสำเร็จทางวิศวกรรม[แก้]

ปัญหาเกี่ยวกับการเชื่อมสายเคเบิล[แก้]

ระบบตรวจสอบ[แก้]

อ้างอิง[แก้]