สงครามตองอู–หงสาวดี (พ.ศ. 2077–2084)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามตองอู–หงสาวดี (พ.ศ. 2077–2084)
ส่วนหนึ่งของ สงครามจักรวรรดิตองอู

สมรภูมิการรบของตองอู (1534–1547)
วันที่ประมาณ พฤศจิกายน 1534 – พฤษภาคม 1541
สถานที่
ผล ตองอูได้ชัยชนะ
สิ้นสุดอาณาจักรหงสาวดี
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ตองอูเข้ายึดหงสาวดี (พม่าตอนล่าง)
คู่สงคราม
อาณาจักรตองอู อาณาจักรหงสาวดี
อาณาจักรแปร
สหภาพรัฐชาน
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
บุเรงนอง
เจ้าลครอินทร์
สมิงพยู
João Caeiro
พระเจ้าสการะวุตพี
พญาลอ 
พญาเกียรติ์ 
สอพินยา 
พระเจ้านรปติแห่งแปร
พระเจ้ามังฆ้องแห่งแปร
พระเจ้าโต่หั่นบวา
Paulo de Seixas
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

กองทัพอาณาจักรพม่า รวมทั้ง:

  • ทหารรับจ้างต่างชาติ 700 นาย (1539–1541)

กองทัพอาณาจักรหงสาวดี รวมทั้งทหารรับจ้างต่างชาติ (1534–1539)

  • กองทัพสหภาพรัฐชาน และอาณาจักรแปร (1539)
  • กองทัพเมาะตะมะ รวมทั้งทหารรับจ้างต่างชาติ (1540–1541)
กำลัง

1534–1535 สู้กับ หงสาวดี: 4,000 นาย[1]
1535–1536 สู้กับ หงสาวดี: 6,000 นาย[1]
1536–1537 สู้กับ หงสาวดี: 7,000 นาย[1]
1538–1539 สู้กับ หงสาวดี: 7,000 นาย[2]

1540–1541 สู้กับ เมาะตะมะ: 13,000 นาย[3]

1538–1539 (หงสาวดี): 12,000 นาย[2]

1540–1541 (เมาะตะมะ): ไม่ทราบจำนวน; เรือรบโปรตุเกสเจ็ดลำ
ความสูญเสีย
สูง สูงมาก (ส่วนใหญ่ของชาวเมาะตะมะถูกสังหาร)[4]

สงครามตองอู-หงสาวดี (พ.ศ. 2077-2084) (พม่า: တောင်ငူ–ဟံသာဝတီ စစ် (၁၅၃၄–၁၅၄၁); อังกฤษ: Taungoo–Hanthawaddy War (1534–41)) เป็นความขัดแย้งทางทหารระหว่าง อาณาจักรตองอู และ อาณาจักรหงสาวดี และพันธมิตรของหงสาวดี คือ อาณาจักรแปร และ สหภาพรัฐชาน ซึ่งเกิดขึ้นที่ พม่าตอนล่าง ในปัจจุบันระหว่าง ค.ศ. 1534 ถึง 1541 สงครามครั้งนี้มีหลายเหตุการณ์ที่สำคัญเริ่มต้นขึ้นเมื่ออาณาจักรตองอู อาณาจักรของกลุ่มชนที่พูด ภาษาพม่า บุกเข้าโจมตีอาณาจักรหงสาวดี อาณาจักรของกลุ่มชนที่พูด ภาษามอญ ทำให้อาณาจักรตองอูกลายเป็นอาณาจักรของชาวพม่าที่มีความรุ่งเรืองและมีอำนาจเหนืออาณาจักรต่าง ๆ ที่ก่อตั้งหลัง อาณาจักรพุกาม[5] ในปีต่อ ๆ มาตองอูได้ใช้ความมั่งคั่งและอำนาจในการรวมแผ่นดินของอาณาจักรต่าง ๆ จนเป็นปึกแผ่นนับตั้งแต่หลังการล่มสลายของ อาณาจักรพุกาม อาณาจักรหนึ่งของชาวพม่าในปี ค.ศ. 1287

อ้างอิง[แก้]

เชิงอรรถ
  1. 1.0 1.1 1.2 Hmannan Vol. 2 2003: 185–186
  2. 2.0 2.1 Hmannan Vol. 2 2003: 189
  3. Hmannan Vol. 2 2003: 197
  4. Htin Aung 1967: 109–110
  5. Harvey 1925: 153–157
บรรณานุกรม
  • Fernquest, Jon (Autumn 2005). "Min-gyi-nyo, the Shan Invasions of Ava (1524–27), and the Beginnings of Expansionary Warfare in Toungoo Burma: 1486–1539" (PDF). SOAS Bulletin of Burma Research. 3 (2). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 2018-08-18.
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Htin Aung, Maung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press.
  • Lieberman, Victor B. (2003). Strange Parallels: Southeast Asia in Global Context, c. 800–1830, volume 1, Integration on the Mainland. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-80496-7.
  • Royal Historical Commission of Burma (1832). Hmannan Yazawin (ภาษาพม่า). Vol. 1–3 (2003 ed.). Yangon: Ministry of Information, Myanmar.
  • Sein Lwin Lay, Kahtika U (1968). Mintaya Shwe Hti and Bayinnaung: Ketumadi Taungoo Yazawin (ภาษาพม่า) (2006, 2nd printing ed.). Yangon: Yan Aung Sarpay.