วัวทะเลทากิกาวะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วัวทะเลทากิกาวะ
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Late Pliocene 3.6–2.6Ma
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อันดับ: อันดับพะยูน
วงศ์: Dugongidae
สกุล: วัวทะเลชเต็ลเลอร์
Furusawa, 1988
สปีชีส์: Hydrodamalis spissa
ชื่อทวินาม
Hydrodamalis spissa
Furusawa, 1988
ชื่อพ้อง

?†H. cuestae Domning, 1978

วัวทะเลทากิกาวะ (Hydrodamalis spissa) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลกินพืช ซึ่งสูญพันธุ์แล้ว อาศัยอยู่ในปลายสมัยไพลโอซีน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับวัวทะเลชเตลเลอร์ที่เพิ่งสูญพันธุ์ไปไม่นาน (H. gigas) ใน ค.ศ. 1988 มีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของวัวทะเลในฮกไกโด แต่เดิมถูกจัดว่าเป็นซากของวัวทะเลทากิกาวะ[1] ซึ่งเป็นสปีชีส์ที่เพิ่งมีการอธิบาย แม้ว่านักวิทยาศาสตร์บางคนจะเห็นว่าเป็นชื่อพ้องของวัวทะเลเควสตา (H. cuestae) ก็ตาม ปัจจุบันยังไม่แน่ชัดว่าวัวทะเลทากิกาวะเป็นเพียงพันธุ์พื้นเมืองของวัวทะเลเควสตา หรือเป็นสปีชีส์ที่แยกมาต่างหาก[1][2][3] อย่างไรก็ตาม วัวทะเลทากิกาวะมีความคล้ายคลึงทางสัณฐานวิทยาร่วมกันกับวัวทะเลชเตลเลอร์มากกว่ากับวัวทะเลเควสตา[4]

ความสัมพันธ์ภายใน Hydrodamalinae
Sirenia

Dusisiren reinharti




Dusisiren jordani




Dusisiren dewana




Dusisiren takasatensis




Hydrodamalis cuestae




Hydrodamalis spissa




Hydrodamalis gigas









ต้นไม้แสดงความสัมพันธ์นี้อาศัยการศึกษาของฮิโตชิ ฟุรุซาวะ[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Furusawa, Hitoshi (1988). A new species of hydrodamaline Sirenia from Hokkaido, Japan. Takikawa Museum of Art and Natural History. pp. 1–73.
  2. Marsh, Helene; O'Shea, Thomas J.; Reynolds III, John E. (2011). "Steller's sea cow: discovery, biology and exploitation of a relict giant sirenian". Ecology and Conservation of the Sirenia: Dugongs and Manatees. New York: Cambridge University Press. pp. 18–35. ISBN 978-0-521-88828-8.
  3. Furusawa, Hitoshi (1990). "Discovery and significance of the Takikawa sea cow (Hydrodamalis spissa) from Numata-cho, Uryu-gun, Hokkaido, Japan". Earth Science. 44 (4): 224–228.
  4. 4.0 4.1 Furusawa, Hitoshi (2004). "A phylogeny of the North Pacific Sirenia (Dugongidae: Hydrodamalinae) based on a comparative study of endocranial casts". Paleontological Research. 8 (2): 91–98. doi:10.2517/prpsj.8.91.