วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2015

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2015
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศบราซิล บราซิล
วันที่30 กันยายน–4 ตุลาคม
ทีม8
สถานที่1
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 30)
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่า แซร์ฌีอู ซังตุส (BRA)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
Official website

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2015 (อังกฤษ: 2015 Men's South American Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 31 ของการแข่งขัน ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลอเมริกาใต้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 30 กันยายน–4 ตุลาคม ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ที่เมืองมาเซโอ, ประเทศบราซิล[1]

ประเทศที่เข้าร่วม[แก้]

ทีมชาติต่อไปนี้มีส่วนร่วมในการแข่งขัน:

รอบคัดเลือก[แก้]

ผ่านเข้ารอบรองชนะเลิศ
ผ่านเข้ารอบชิงอันดับที่ 5–6
ผ่านเข้ารอบชิงอันดับที่ 7–8

กลุ่ม A[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 0 9 9 1 9.000 248 150 1.653
2 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 2 1 6 6 5 1.200 226 237 0.954
3 ธงชาติชิลี ชิลี 1 2 3 5 6 0.833 238 250 0.952
4 ธงชาติเปรู เปรู 0 3 0 1 9 0.111 171 246 0.695
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
30 ก.ย. 16:00 ชิลี ธงชาติชิลี 1–3 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 25–17 17–25 21–25 20–25   83–92 รายงาน
30 ก.ย. 18:45 บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติเปรู เปรู 25–8 25–9 25–15     75–32 รายงาน
1 ต.ค. 12:30 เวเนซุเอลา ธงชาติเวเนซุเอลา 3–1 ธงชาติเปรู เปรู 20–25 25–19 26–24 25–11   96–79 รายงาน
1 ต.ค. 18:00 ชิลี ธงชาติชิลี 1–3 ธงชาติบราซิล บราซิล 25–23 18–25 14–25 23–25   80–98 รายงาน
2 ต.ค. 12:45 เปรู ธงชาติเปรู 0–3 ธงชาติชิลี ชิลี 23–25 16–25 21–25     60–75 รายงาน
2 ต.ค. 18:15 บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 25–16 25–8 25–14     75–38 รายงาน

กลุ่ม B[แก้]

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 0 9 9 1 9.000 248 162 1.531
2 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 2 1 6 7 3 2.333 237 209 1.134
3 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 1 2 3 3 6 0.500 173 201 0.861
4 ธงชาติกายอานา กายอานา 0 3 0 0 9 0.000 139 225 0.618
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
30 ก.ย. 13:15 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย 3–0 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 25–18 25–18 25–18     75–54 รายงาน
30 ก.ย. 21:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–0 ธงชาติกายอานา กายอานา 25–9 25–9 25–13     75–31 รายงาน
1 ต.ค. 15:15 โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย 3–0 ธงชาติกายอานา กายอานา 25–22 25–15 25–20     75–57 รายงาน
1 ต.ค. 21:00 อุรุกวัย ธงชาติอุรุกวัย 0–3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 12–25 16–25 16–25     44–75 รายงาน
2 ต.ค. 15:30 กายอานา ธงชาติกายอานา 0–3 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 14–25 14–25 23–25     51–75 รายงาน
2 ต.ค. 21:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 25–17 28–26 20–25 25–19   98–87 รายงาน

รอบสุดท้าย[แก้]

รอบชิงอันดับที่ 7[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
3 ต.ค. 18:20 กายอานา ธงชาติกายอานา 0–3 ธงชาติเปรู เปรู 19–25 14–25 17–25     50–75 รายงาน

รอบชิงอันดับที่ 5[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
3 ต.ค. 21:00 ชิลี ธงชาติชิลี 3–1 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 25–19 23–25 25–16 25–18   98–78 รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
3 ตุลาคม
 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา  3  
 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา  1  
 
4 ตุลาคม
     ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา  0
   ธงชาติบราซิล บราซิล  3
รอบชิงอันดับที่ 3
3 ตุลาคม 4 ตุลาคม
 ธงชาติบราซิล บราซิล  3  ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา  0
 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  0    ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  3

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
3 ต.ค. 13:00 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 3–1 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 25–18 20–25 25–16 25–17   95–76 รายงาน
3 ต.ค. 15:40 บราซิล ธงชาติบราซิล 3–0 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 25–19 25–14 25–10     75–43 รายงาน

รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
4 ต.ค. 08:30 เวเนซุเอลา ธงชาติเวเนซุเอลา 0–3 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 21–25 25–27 21–25     67–77 รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
4 ต.ค. 10:15 อาร์เจนตินา ธงชาติอาร์เจนตินา 0–3 ธงชาติบราซิล บราซิล 16–25 19–25 16–25     51–75 รายงาน

อันดับการแข่งขัน[แก้]

รางวัล[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Brazil record 30th title win in South American Championship". FIVB. 4 October 2015. สืบค้นเมื่อ 5 October 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]