ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2513

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2513
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513
ระบบสุดท้ายสลายตัว21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อโฮป
 • ลมแรงสูงสุด280 กม./ชม. (175 ไมล์/ชม.)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด900 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด28
พายุโซนร้อนทั้งหมด24
พายุไต้ฝุ่น12
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น7
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด3909
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2511, 2512, 2513, 2514, 2515

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เป็นฤดูของพายุหมุนเขตร้อนแต่ไม่มีการกำหนดช่วงของขอบเขตของพายุ แต่ส่วนใหญ่จะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนและธันวาคม วันเหล่านี้ในแต่ละปีเมื่อพายุไซโคลนเขตร้อนมักจะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก

ขอบเขตของบทความนี้จะจำกัดอยู่ทางบริเวณตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตร และทางตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล โดยพายุที่เกิดทางด้านตะวันออกของเส้นนี้และทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรจะถูกเรียกรวมๆว่า เฮอร์ริเคน ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2513

พายุหมุนเขตร้อนในแอ่งแปซิฟิกนี้ ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นของสหรัฐอเมริกาได้กำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ข้างหน้า

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตนเองเมื่อมีพายุก่อตัวหรือทวีความรุนแรงในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ (Philippine area of responsibility)

พายุ[แก้]

ในฤดูกาลนี้มีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นในแอ่งแปซิฟิกตะวันตกจำนวน 27 ลูก ในจำนวนนี้มี 24 ลูกทวีกำลังเป็นพายุโซนร้อน และในจำนวนนี้ 12 ลูกทวีกำลังเป็นพายุใต้ฝุ่น และในจำนวนนี้ 7 ลูกมีความรุนแรงเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น

พายุไต้ฝุ่นแนนซี (อาตัง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (HKO)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 28 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนสอง (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 15 – 17 มีนาคม
ความรุนแรง 35 กม./ชม. (25 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนสาม (โดย CMA)[แก้]

พายุโซนร้อน (CMA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 11 – 16 มิถุนายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนบีซิง[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 13 – 17 มิถุนายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนห้า (โดย CMA)[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (CMA)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 20 – 22 มิถุนายน
ความรุนแรง 35 กม./ชม. (25 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นออลกา (เดลิง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (HKO)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 27 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม
ความรุนแรง 230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.72 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนพาเมลา (กลาริง)[แก้]

พายุโซนร้อน (HKO)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 28 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนรูบี (เอมัง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 12 – 16 กรกฎาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแซลลี[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 22 กรกฎาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเทเรส[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนไวโอเลต (ฮีลิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 9 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นวิลดา (อีเลียง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 15 สิงหาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแอนนิตา[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นบิลลี (โลเลง)[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 31 สิงหาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคลารา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 สิงหาคม – 3 กันยายน
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอลเลน (นอร์มิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 4 – 6 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฟรัน (โอยัง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 4 – 8 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นจอร์เจีย (ปีตัง)[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 8 – 14 กันยายน
ความรุนแรง 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.72 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโฮป[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 29 กันยายน
ความรุนแรง 280 กม./ชม. (175 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
900 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.58 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไอริส[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 8 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโจอัน (เซเนียง)[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 18 ตุลาคม
ความรุนแรง 280 กม./ชม. (175 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
905 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.72 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเคท (ตีตัง)[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 25 ตุลาคม
ความรุนแรง 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูอิส[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 – 29 ตุลาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมาร์จ (อูดิง)[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 28 ตุลาคม – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโนรา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 3 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโอปอล[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 17 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแพตซี (โยลิง)[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 22 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนรูท[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 27 – 27 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุในปี พ.ศ. 2513[แก้]

รายชื่อของแอ่งมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งตั้งโดยศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น โดยพายุลูกแรกชื่อฟิลลิส และชื่อสุดท้ายคือมารี

  • อักเนส
  • บอนนี
  • คาร์เมน
  • เดลลา
  • เอเลน
  • เฟย
  • กลอเรีย
  • เฮสเตอร์
  • ไอร์มา
  • จูดี
  • คิท
  • โลลา
  • มามี
  • นีนา
  • โอรา
  • ฟิลลิส
  • ริตา
  • ซูซาน
  • เทสส์
  • ไวโอลา
  • วินนี
  • อลิซ
  • เบตตี
  • โครา
  • โดริส
  • เอลซี
  • ฟลอซซี
  • เกรซ
  • เฮเลน
  • ไอดา
  • จูน
  • เคที
  • โลร์นา
  • มารี
  • แนนซี 1W
  • ออลกา 2W
  • พาเมลา 3W
  • รูบี 4W
  • แซลลี 5W
  • เทเรส 8W
  • ไวโอเลต 9W
  • วิลดา 10W
  • แอนนิตา 11W
  • บิลลี 12W
  • คลารา 13W
  • ดอท 14W
  • เอลเลน 15W
  • ฟรัน 16W
  • จอร์เจีย 17W
  • โฮป 18W
  • ไอริส 19W
  • โจอัน 21W
  • เคท 22W
  • ลูอิส 23W
  • มาร์จ 24W
  • โนรา 25W
  • โอปอล 26W
  • แพตซี 27W
  • รูท 28W
  • ซาราห์
  • เทลมา
  • เวรา
  • วันดา
  • เอ็มมี
  • แบ็บ
  • คาร์ลา
  • ดีนาห์
  • เอมมา
  • เฟรดา
  • กิลดา
  • แฮร์เรียต
  • ไอวี
  • เจียน
  • คิม
  • ลูซี
  • มารี
  • เนดีน
  • โอลีฟ
  • โพลี
  • โรส
  • ชีร์เลย์
  • ทริกซ์
  • เวอร์ไจนา
  • เวนดี

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]