ราชมรรคา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปราสาทตาเมือน (ปราสาทบายกรีม)
ปราสาทพระขรรค์

ราชมรรคา (อังกฤษ: Royal Roads) คือเส้นทางเชื่อมโยงบ้านเมืองชั้นในของอาณาจักรขอม อันเป็นบรรพบุรุษร่วมสายหนึ่งของชาวไทยในปัจจุบัน มีหลักฐานเป็น ถนน สะพาน ปราสาท จารึก ปมปริศนา

ปราสาทหินในประเทศไทย[แก้]

  1. อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย[1]
  2. อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง
  3. อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ
  4. อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์
  5. อุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือนและปราสาทศีขรภูมิ
  6. ปราสาทเมืองต่ำ
  7. ปรางค์กู่ จังหวัดร้อยเอ็ด
  8. ปราสาทช่างปี่
  9. ปราสาทตระเปียงเตีย
  10. ปราสาทตาควาย
  11. ปราสาทตาเมือน
  12. ปราสาทตาเมือนธม
  13. ปราสาทตาเมือนโต๊ด
  14. ปราสาทตาเล็ง
  15. ปราสาทบ้านพลวง
  16. ปราสาทบ้านสนม (ปราสาทวัดธาตุ)
  17. ปราสาทบ้านสมอ
  18. ปราสาทบ้านไพล
  19. ปราสาทปรางค์กู่
  20. ปราสาทยายเหงา
  21. ปราสาทวัดปรางค์ทอง
  22. ปราสาทศีขรภูมิ
  23. ปราสาทสระกำแพงน้อย
  24. ปราสาทสระกำแพงใหญ่
  25. ปราสาทสังข์ศิลป์ชัย
  26. ปราสาทหินพนมวัน
  27. ปราสาทห้วยทับทัน
  28. ปราสาทโดนตวล
  29. ปราสาทภูมิโปน
  30. ปราสาทบ้านอนันต์

ธรรมศาลาตามเส้นทางราชมรรคา (ในเขตประเทศไทย)[แก้]

  1. ปราสาทกู่ศิลา
  2. ปราสาทห้วยแคน ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ตำบลห้วยแคน อำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา เป็นธรรมศาลาหลังที่สองจากเมืองพิมาย ได้รับการบูรณะแล้ว แต่ยังอยู่ในสภาพชำรุด
  3. ปราสาทบ้านสำโรง เป็นเป็นปราสาทที่ยังไม่ได้รับการบูรณะ มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นปกคลุม สภาพพังทลายและถูกดินทับถมตามกาลเวลา มีลักษณะเป็นโคกกลางท้องนา ตั้งอยู่ที่บ้านสำโรง ตำบลไผทรินทร์ อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
  4. ปราสาทหนองตาเปล่ง
  5. ปราสาทหนองปล่อง
  6. ปราสาทหนองกง (โคกปราสาท)
  7. ปราสาทบ้านบุ
  8. ปราสาทถมอ
  9. ปราสาทตาเมือน

ธรรมศาลาตามเส้นทางราชมรรคา (ในเขตประเทศกัมพูชา)[แก้]

  1. ปราสาทพระขรรค์
  2. ปราสาทพรหมเกล
  3. ปราสาทบันทายฉมาร์

มรดกโลก[แก้]

อยู่ในขั้นตอนการพิจารณาเพื่อยกระดับให้เป็นมรดกโลก พร้อมกับ กลุ่มป่าแก่งกระจาน และ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท

อ้างอิง[แก้]