ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉบับร่าง:พระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
==การศึกษา/วิทยฐานะ==
==การศึกษา/วิทยฐานะ==
* จบชั้น ป.4 ที่โรงเรียนวัดจำปาโพนดวน
* จบชั้น ป.4 ที่โรงเรียนวัดจำปาโพนดวน
* พ.ศ. 2496 สอบได้นักธรรมชั้นตรี
* พ.ศ. 2496 สอบได้[[นักธรรม]]ชั้นตรี สำนักศาสนศึกษาวัดดอนรังนก [[จังหวัดชัยนาท]]
* พ.ศ. 2498 สอบได้นักธรรมชั้นโท
* พ.ศ. 2498 สอบได้นักธรรมชั้นโท สำนักศาสนศึกษาวัดดอนรังนก [[จังหวัดชัยนาท]]
* พ.ศ. 2500 สอบได้นักธรรมชั้นเอก
* พ.ศ. 2500 สอบได้นักธรรมชั้นเอก สำนักศาสนศึกษาวัดดอนรังนก [[จังหวัดชัยนาท]]


ในปี 2496-2498 ตอนนั้นหลวงปู่จำพรรษาอยู่ที่วัดห้วยถั่วใต้ จ.นครสวรรค์ ปี 2499 จำพรรษาทีวัดคลองอนงค์ ปี 2500 จำพรรษาที่วัดคลองขลุง อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร แต่ไปสอบนักธรรมได้ที่ วัดดอนรังนก จ.ชัยนาท.ทั้งสามชั้น


==การปกครองคณะสงฆ์==
==การปกครองคณะสงฆ์==
บรรทัด 40: บรรทัด 39:
* ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทาง[[พระสังฆาธิการ]]เป็นรอง[[เจ้าคณะอำเภอ]][[อำเภอท่าตูม]] [[จังหวัดสุรินทร์]]
* ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทาง[[พระสังฆาธิการ]]เป็นรอง[[เจ้าคณะอำเภอ]][[อำเภอท่าตูม]] [[จังหวัดสุรินทร์]]
* พ.ศ.2556 ได้รับพระบัญชา[[สมเด็จพระสังฆราช]]แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษา[[เจ้าคณะอำเภอ]][[อำเภอท่าตูม]] [[จังหวัดสุรินทร์]]<ref>http://www.mahathera.org/detail.php?module=news&id=145&title=02</ref>
* พ.ศ.2556 ได้รับพระบัญชา[[สมเด็จพระสังฆราช]]แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษา[[เจ้าคณะอำเภอ]][[อำเภอท่าตูม]] [[จังหวัดสุรินทร์]]<ref>http://www.mahathera.org/detail.php?module=news&id=145&title=02</ref>
==ปฏิปทาและการปฏิบัติธรรม และงานสาธารณูปการ==

ในปี 2496-2498 ตอนนั้นหลังจากอุปสมบทแล้วหลวงปู่ได้กราบลา[[พระอุปัชฌาย์]]เพื่อออกจาริกแสวงหาความรู้ในด้านต่างๆ ทั้งทางธรรม และวิชาอาคมต่างๆจากพระอาจารย์หลายๆรูป ซึ่งในพรรษาแรกนั้นหลวงปู่ได้จำพรรษาอยู่ที่วัดห้วยถั่วใต้ ตำบลห้วยถั่วใต้ อำเภอหนองบัว [[จังหวัดนครสวรรค์]] และในปี พ.ศ. 2499 หลวงปู่ได้ไปจำพรรษาที่วัดคลองอนงค์ ปี 2500 จำพรรษาที่วัดคลองขลุง อำเภอตะพานหิน [[จังหวัดพิจิตร]] แล้วในระหว่างนั้นหลวงปู่ก็สอบนักธรรมชั้นตรี – เอก ได้ที่ วัดดอนรังนก [[จังหวัดชัยนาท]] หลังจากนั้น หลวงปู่ก็ได้กราบลาพระอาจารย์ ออกจาริกอีกครั้งโดยเดินทางไปจำพรรษาที่ วัดพลร่มป่าหวาย ตำบลป่าตาล [[จังหวัดลพบุรี]] ตลอดระยะเวลาที่หลวงปู่ได้มาศึกษาธรรมะในสถานที่ต่างๆนั้นหลวงปู่ได้เรียนภาษาขอม เขมร ตลอดจนอักขระต่างๆจนช่ำชองทั้งวิชาอาคม การรักษาโรคจากพระอาจารย์หลายๆองค์ตลอดการออกจาริกไม่ว่าจะเป็น หลวงปู่แหวน หลวงปู่มั่น หลวงปู่ชาซึ่งหลวงปู่ทั้งสามรูปได้สอนและแนะนำการกำหนดจิตและการครองตนถึงแม้ว่าจะสังกัดนิกายต่างกันแต่ท่านก็มีเมตตาอบรมสั่งสอน รวมถึงการศึกษาจากป่าเขาลำเนาไพร ถ้ำ หน้าผาซึ่งมีผู้เขียนอักขระต่างๆใว้ แต่ในความคิดหลวงปู่คิดว่ายังไม่พอที่จะกลับบ้านเกิด หลวงปู่จึงได้จาริกเข้ามายัง[[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์]]
ในช่วงปลายปี 2501 เพื่อศึกษาวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) กับ[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)]]ขณะดำรงสมณศักดิ์เป็น[[พระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ)]] [[เจ้าอาวาส]][[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร]] [[ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช]] ซึ่งท่านยังเป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) จาก[[ประเทศพม่า]]มาเผยแพร่ในประเทศไทย และในช่วงนี้เองหลวงปู่ก็ได้เพื่อศึกษาวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ)แบบที่ถูกใจและได้ออกธุดงค์ ตามสถานที่ต่างๆอีกครั้งตั้งแต่ภาคกลางไปยังภาคเหนือ และภาคใต้ และหลวงปู่ก็ปฏิบัติตามพระอาจารย์อย่างเคร่งครัด แล้วมีครั้งหนึ่งหลวงปู่ออกธุดงค์พบกับหลวงพ่อทบเมื่อมีโอกาสได้ออกจาริกด้วยกันจนสนิทสนมกันแล้วหลวงพ่อทบก็ได้เมตตาถ่ายทอดวิชาการทำตะกรุดและวิชาต่างๆให้ใน พ.ศ. 2503 เมื่อครั้งสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)-ขณะดำรงสมณศักดิ์เป็น[[พระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ)]]นั้น ท่านได้ถูกกล่าวหาว่าเสพเมถุนทางเวจมรรคกับลูกศิษย์ จึงถูกถอดสมณศักดิ์และตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ท่านจึงได้บอกกับหลวงปู่ว่าให้กลับไปต่างจังหวัดเพราะท่านเกรงว่าจะต้องโทษด้วย หลวงปู่เผือกจึงได้บ้านเกิดในทันทีและหลวงปู่ก็ได้จำพรรษาที่วัดโพธิ์ชัยหมากมี่ ตำบลหนองบัว อำเภอท่าตูม [[จังหวัดสุรินทร์]] โดยหลวงปู่สี หรือ พระครูสิริธรรมคุต เจ้าคณะตำบลหนองบัว และท่านพระครูประภัศรคณารักษ์ เจ้าคณะอำเภอท่าตูม(ในขณะนั้น)เป็นผู้แนะนำ
ในปี 2505หลวงปู่ก็ออกจาริกอีกและไปจำพรรษาที่ วัดแก่งเสือเต้น [[จังหวัดลพบุรี]] แล้วก็กลับสุรินทร์ ในปี2507 หลวงปู่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัยหมากมี่ ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน
ตลอดระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง.เจ้าอาวาสหลวงปู่ได้สร้างเสนาสนะต่างๆในวัดขึ้นมาใหม่มากมาย เช่น โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ตั้งขึ้นเมื่อปี 2507 ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 2 หลัง สร้างเมื่อปี 2504 และ อุโบสถสร้างเมือปี 2514 และปี 2557 ได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้นมาเพื่อทดแทนหลังเก่าที่ชำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลาตลอดระยะเวลาที่จำวัดอยู่ที่นี่หลวงปู่ก็ยังหาเวลาออกจาริกไปยังที่ต่างๆหลังจากออกพรรษาเพื่อฝึกตนและสั่งสอนญาติโยมอยู่เสมอในปี 2526 ท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ (จันทร์ ปภัสสโร) เจ้าคณะอำเภอท่าตูมในสมัยนั้นต้องการที่จะสร้างสถานที่ปฏิบัติธรรมขึ้นท่านจึงได้ดำริกับหลวงปู่เผือก และหลวงปู่เผือกซึ่งเคยได้พบหลวงปู่ธรรมรังษีหลังจากที่รู้จักกันไม่นานหลวงปู่จึงบอกกับท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ว่ามีพระอยู่รูปหนึ่งอยู่ที่ วัดบ้านหนองเหล็ก อำเภอรัตนบุรีน่าจะเหมาะสมกับสถานที่ปฏิบัติธรรมแห่งนี้และหลวงปู่เผือกจึงพาท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ไป นิมนต์หลวงปู่ธรรมรังษีท่านไปดูสถานที่ป่าหนาทึบแห่งหนึ่งห่างจากอำเภอท่าตูมไม่ไกลนัก ซึ่งเดิมเป็นที่พำนักของพ่อฤๅษี เมื่อหลวงปู่ธรรมรังษีได้เดินทางมาถึงดูสถานที่แห่งนี้ท่านเกิดความชอบและเห็นด้วย ท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ (จันทร์ ปภัสสโร) หลวงปู่เผือก และ หลวงปู่ธรรมรังษีจึงก่อตั้ง วัดพระพุทธบาทพนมดินขึ้น เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมตลอดระยะเวลาหลายปีหลวงปู่เผือกก็ได้สนทนาธรรมแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันกับหลวงปู่ธรรมรังษีรวมถึงการปฏิบัติธรรมและปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานและเผยแพร่พระพุทธศาสนาจนสุดท้ายบั้นปลายชีวิตสมนะของหลวงปู่ธรรมรังษี
เรื่องเล่าของหลวงปู่เมื่อครั้งออกแสวงหาความรู้ เมื่อหลวงปู่เผือกพบพ่อทบและได้ออกจาริกด้วยกันแล้วมีอยู่ครั้งหนึ่งเดินตามถนน แล้วมีรถยนต์วิ่งมาแล้วหลวงพ่อทบบอกกับหลวงปู่ว่า ”พระฝรั่งลองโบกรถหน่อยซิ หลวงปู่ก็โบกแต่รถคนนั้นไม่จอดหลวงปู่จึงถามหลวงพ่อทบว่าทำไมเขาไม่จอดละหลวงพ่อ หลวงพ่อทบก็เอ่ยขึ้นว่าเดี่ยวเขาก็จอดรถคันนั้นวิ่งไปได้สักพักก็จอดแน่นิ่งอยู่ข้างหน้า พอท่านทั้งสองมาถึงจึงถามว่ารถเป็นไรละโยมเจ้าของรถก็ตอบว่าไม่รู้เป็นอะไรครับอยู่เครื่องก็ดับ แล้วหลวงพ่อทบก็หันมาบอกกับหลวงปู่ว่าพระเมืองนอกไปดูซิเครื่องมันเป็นอะไรพอหลวงปู่ไปดูก็ใช้มือข้างที่โบกรถนั่นแหละจับที่หัวรถแล้วให้เขาสต๊าดใหม่เครื่องก็ติดทันที ”......(เป็นอีกหนึ่งสรรพวิชาที่หลวงพ่อทบมีคือจิตที่สั่งได้ทุกสิ่งรวมถึงวาจาที่ศักดิ์สิทธิ์..)
==สมณศักดิ์==
==สมณศักดิ์==
* ได้รับพระราชทานตั้ง[[สมณศักดิ์]]เป็น[[พระครูสัญญาบัตร]][[เจ้าอาวาส]]วัดราษฏร์ ใน[[ราชทินนาม]] ที่ '''พระครูสุภัทรโพธิคุณ '''<ref>https://www.facebook.com/photo.php?fbid=740800629347317&set=gm.684997821598333&type=1&theater</ref>
* ได้รับพระราชทานตั้ง[[สมณศักดิ์]]เป็น[[พระครูสัญญาบัตร]][[เจ้าอาวาส]]วัดราษฏร์ ใน[[ราชทินนาม]] ที่ '''พระครูสุภัทรโพธิคุณ '''<ref>https://www.facebook.com/photo.php?fbid=740800629347317&set=gm.684997821598333&type=1&theater</ref>
*พ.ศ.2548 ได้รับพระบัญชา (โดย[[พระบรมราชานุญาต]])เลื่อน[[สมณศักดิ์]]เป็น[[พระครูสัญญาบัตร]]รอง[[เจ้าคณะอำเภอ]]ชั้นเอก ใน[[ราชทินนาม]] เดิมที่ '''พระครูสุภัทรโพธิคุณ'''<ref>https://www.facebook.com/photo.php?fbid=1493797804203100&set=a.1493797687536445.1073741838.100007186848358&type=1&theater</ref><ref>http://www.web-pra.com/Auction/Show/1713918</ref><ref>https://www.facebook.com/photo.php?fbid=1784025418507941&set=gm.277425382612208&type=3&theater</ref>
*พ.ศ.2548 ได้รับพระบัญชา (โดย[[พระบรมราชานุญาต]])เลื่อน[[สมณศักดิ์]]เป็น[[พระครูสัญญาบัตร]]รอง[[เจ้าคณะอำเภอ]]ชั้นเอก ใน[[ราชทินนาม]] เดิมที่ '''พระครูสุภัทรโพธิคุณ'''<ref>https://www.facebook.com/photo.php?fbid=1493797804203100&set=a.1493797687536445.1073741838.100007186848358&type=1&theater</ref><ref>http://www.web-pra.com/Auction/Show/1713918</ref><ref>https://www.facebook.com/photo.php?fbid=1784025418507941&set=gm.277425382612208&type=3&theater</ref>



==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:39, 5 เมษายน 2560

พระครูสุภัทรโพธิคุณ

(เผือก สุภทฺโท)
ชื่ออื่นหลวงปู่เผือก
ส่วนบุคคล
เกิด7 เมษายน 2476 (91 ปี)
นิกายมหานิกาย
การศึกษาน.ธ.เอก, ประถมศึกษาปีที่ ๔
ตำแหน่งชั้นสูง
ที่อยู่วัดโพธิ์ชัยบ้านหมากมี่ อำเภอท่าตูม สุรินทร์
อุปสมบทปี พ.ศ. 2496
พรรษา71
ตำแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอท่าตูม และเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัยบ้านหมากมี่ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์

พระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท)[1] ปัจจุบันดำรงตำแหน่งทางพระสังฆาธิการป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัยบ้านหมากมี่ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอท่าตูม[2] จังหวัดสุรินทร์ เป็นพระเกจิมหาเถราจารย์ผู้ทรงวิทยาคุณแห่งดินแดนอิสานใต้

ชาตภูมิ

  • พระครูสุภัทรโพธิคุณ (เผือก สุภทฺโท)[3] นามเดิม ชื่อ เผือก นามสกุลศรีสว่าง
  • เกิดวันศุกร์ที่ 7 เมษายน 2476 ตรงกับขึ้น 13 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา
  • บิดาชื่อ นายสิงห์ มารดาชื่อ นางแพง นามสกุล ศรีสว่าง
  • ณ บ้านโพนดวน หมู่ 6 ตำบลน้ำเขียว(สมัยนั้น) อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองให้อำเภอสนม

การบรรพชาและอุปสมบท

การศึกษา/วิทยฐานะ


การปกครองคณะสงฆ์

ปฏิปทาและการปฏิบัติธรรม และงานสาธารณูปการ

ในปี 2496-2498 ตอนนั้นหลังจากอุปสมบทแล้วหลวงปู่ได้กราบลาพระอุปัชฌาย์เพื่อออกจาริกแสวงหาความรู้ในด้านต่างๆ ทั้งทางธรรม และวิชาอาคมต่างๆจากพระอาจารย์หลายๆรูป ซึ่งในพรรษาแรกนั้นหลวงปู่ได้จำพรรษาอยู่ที่วัดห้วยถั่วใต้ ตำบลห้วยถั่วใต้ อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ และในปี พ.ศ. 2499 หลวงปู่ได้ไปจำพรรษาที่วัดคลองอนงค์ ปี 2500 จำพรรษาที่วัดคลองขลุง อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร แล้วในระหว่างนั้นหลวงปู่ก็สอบนักธรรมชั้นตรี – เอก ได้ที่ วัดดอนรังนก จังหวัดชัยนาท หลังจากนั้น หลวงปู่ก็ได้กราบลาพระอาจารย์ ออกจาริกอีกครั้งโดยเดินทางไปจำพรรษาที่ วัดพลร่มป่าหวาย ตำบลป่าตาล จังหวัดลพบุรี ตลอดระยะเวลาที่หลวงปู่ได้มาศึกษาธรรมะในสถานที่ต่างๆนั้นหลวงปู่ได้เรียนภาษาขอม เขมร ตลอดจนอักขระต่างๆจนช่ำชองทั้งวิชาอาคม การรักษาโรคจากพระอาจารย์หลายๆองค์ตลอดการออกจาริกไม่ว่าจะเป็น หลวงปู่แหวน หลวงปู่มั่น หลวงปู่ชาซึ่งหลวงปู่ทั้งสามรูปได้สอนและแนะนำการกำหนดจิตและการครองตนถึงแม้ว่าจะสังกัดนิกายต่างกันแต่ท่านก็มีเมตตาอบรมสั่งสอน รวมถึงการศึกษาจากป่าเขาลำเนาไพร ถ้ำ หน้าผาซึ่งมีผู้เขียนอักขระต่างๆใว้ แต่ในความคิดหลวงปู่คิดว่ายังไม่พอที่จะกลับบ้านเกิด หลวงปู่จึงได้จาริกเข้ามายังวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ในช่วงปลายปี 2501 เพื่อศึกษาวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) กับสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)ขณะดำรงสมณศักดิ์เป็นพระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ) เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ซึ่งท่านยังเป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) จากประเทศพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไทย และในช่วงนี้เองหลวงปู่ก็ได้เพื่อศึกษาวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ)แบบที่ถูกใจและได้ออกธุดงค์ ตามสถานที่ต่างๆอีกครั้งตั้งแต่ภาคกลางไปยังภาคเหนือ และภาคใต้ และหลวงปู่ก็ปฏิบัติตามพระอาจารย์อย่างเคร่งครัด แล้วมีครั้งหนึ่งหลวงปู่ออกธุดงค์พบกับหลวงพ่อทบเมื่อมีโอกาสได้ออกจาริกด้วยกันจนสนิทสนมกันแล้วหลวงพ่อทบก็ได้เมตตาถ่ายทอดวิชาการทำตะกรุดและวิชาต่างๆให้ใน พ.ศ. 2503 เมื่อครั้งสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)-ขณะดำรงสมณศักดิ์เป็นพระพิมลธรรม (อาจ อาสโภ)นั้น ท่านได้ถูกกล่าวหาว่าเสพเมถุนทางเวจมรรคกับลูกศิษย์ จึงถูกถอดสมณศักดิ์และตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ท่านจึงได้บอกกับหลวงปู่ว่าให้กลับไปต่างจังหวัดเพราะท่านเกรงว่าจะต้องโทษด้วย หลวงปู่เผือกจึงได้บ้านเกิดในทันทีและหลวงปู่ก็ได้จำพรรษาที่วัดโพธิ์ชัยหมากมี่ ตำบลหนองบัว อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยหลวงปู่สี หรือ พระครูสิริธรรมคุต เจ้าคณะตำบลหนองบัว และท่านพระครูประภัศรคณารักษ์ เจ้าคณะอำเภอท่าตูม(ในขณะนั้น)เป็นผู้แนะนำ ในปี 2505หลวงปู่ก็ออกจาริกอีกและไปจำพรรษาที่ วัดแก่งเสือเต้น จังหวัดลพบุรี แล้วก็กลับสุรินทร์ ในปี2507 หลวงปู่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัยหมากมี่ ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่ง.เจ้าอาวาสหลวงปู่ได้สร้างเสนาสนะต่างๆในวัดขึ้นมาใหม่มากมาย เช่น โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ตั้งขึ้นเมื่อปี 2507 ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 2 หลัง สร้างเมื่อปี 2504 และ อุโบสถสร้างเมือปี 2514 และปี 2557 ได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ขึ้นมาเพื่อทดแทนหลังเก่าที่ชำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลาตลอดระยะเวลาที่จำวัดอยู่ที่นี่หลวงปู่ก็ยังหาเวลาออกจาริกไปยังที่ต่างๆหลังจากออกพรรษาเพื่อฝึกตนและสั่งสอนญาติโยมอยู่เสมอในปี 2526 ท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ (จันทร์ ปภัสสโร) เจ้าคณะอำเภอท่าตูมในสมัยนั้นต้องการที่จะสร้างสถานที่ปฏิบัติธรรมขึ้นท่านจึงได้ดำริกับหลวงปู่เผือก และหลวงปู่เผือกซึ่งเคยได้พบหลวงปู่ธรรมรังษีหลังจากที่รู้จักกันไม่นานหลวงปู่จึงบอกกับท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ว่ามีพระอยู่รูปหนึ่งอยู่ที่ วัดบ้านหนองเหล็ก อำเภอรัตนบุรีน่าจะเหมาะสมกับสถานที่ปฏิบัติธรรมแห่งนี้และหลวงปู่เผือกจึงพาท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ไป นิมนต์หลวงปู่ธรรมรังษีท่านไปดูสถานที่ป่าหนาทึบแห่งหนึ่งห่างจากอำเภอท่าตูมไม่ไกลนัก ซึ่งเดิมเป็นที่พำนักของพ่อฤๅษี เมื่อหลวงปู่ธรรมรังษีได้เดินทางมาถึงดูสถานที่แห่งนี้ท่านเกิดความชอบและเห็นด้วย ท่านพระครูประภัศร์คณารักษ์ (จันทร์ ปภัสสโร) หลวงปู่เผือก และ หลวงปู่ธรรมรังษีจึงก่อตั้ง วัดพระพุทธบาทพนมดินขึ้น เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมตลอดระยะเวลาหลายปีหลวงปู่เผือกก็ได้สนทนาธรรมแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันกับหลวงปู่ธรรมรังษีรวมถึงการปฏิบัติธรรมและปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานและเผยแพร่พระพุทธศาสนาจนสุดท้ายบั้นปลายชีวิตสมนะของหลวงปู่ธรรมรังษี เรื่องเล่าของหลวงปู่เมื่อครั้งออกแสวงหาความรู้ เมื่อหลวงปู่เผือกพบพ่อทบและได้ออกจาริกด้วยกันแล้วมีอยู่ครั้งหนึ่งเดินตามถนน แล้วมีรถยนต์วิ่งมาแล้วหลวงพ่อทบบอกกับหลวงปู่ว่า ”พระฝรั่งลองโบกรถหน่อยซิ หลวงปู่ก็โบกแต่รถคนนั้นไม่จอดหลวงปู่จึงถามหลวงพ่อทบว่าทำไมเขาไม่จอดละหลวงพ่อ หลวงพ่อทบก็เอ่ยขึ้นว่าเดี่ยวเขาก็จอดรถคันนั้นวิ่งไปได้สักพักก็จอดแน่นิ่งอยู่ข้างหน้า พอท่านทั้งสองมาถึงจึงถามว่ารถเป็นไรละโยมเจ้าของรถก็ตอบว่าไม่รู้เป็นอะไรครับอยู่เครื่องก็ดับ แล้วหลวงพ่อทบก็หันมาบอกกับหลวงปู่ว่าพระเมืองนอกไปดูซิเครื่องมันเป็นอะไรพอหลวงปู่ไปดูก็ใช้มือข้างที่โบกรถนั่นแหละจับที่หัวรถแล้วให้เขาสต๊าดใหม่เครื่องก็ติดทันที ”......(เป็นอีกหนึ่งสรรพวิชาที่หลวงพ่อทบมีคือจิตที่สั่งได้ทุกสิ่งรวมถึงวาจาที่ศักดิ์สิทธิ์..)

สมณศักดิ์


อ้างอิง