โทมาฮอว์ก (มิสไซล์)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก บีจีเอ็ม-109 โทมาฮอร์ก)
บีจีเอ็ม-109 โทมาฮอว์ก
บีจีเอ็ม-109 โทมาฮอว์ก
ชนิดCruise missile
Anti-ship missile[1] (Block V & TASM variants)
Submarine-launched cruise missile
Land-attack missile
Surface-to-surface missile[2]
แหล่งกำเนิด สหรัฐ
บทบาท
ประจำการพ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน
ผู้ใช้งานสหรัฐUnited States Navy
สหราชอาณาจักรRoyal Navy
ออสเตรเลียRoyal Australian Navy (planned)
ประวัติการผลิต
บริษัทผู้ผลิตเจเนอรัลไดนามิกส์ (แรกเริ่ม)
เรย์เธียน/แมคดอนเนลล์ดักลาส
มูลค่า$ยูเอสดอลลาร์ 569,000[3]
ข้อมูลจำเพาะ
มวล1,440 กิโลกรัม (3,170 ปอนด์)
ความยาวปราศจากส่วนขับดัน: 5.56 ม. ส่วนขับดัน: 6.25 กม.
เส้นผ่าศูนย์กลาง0.52 ม.
หัวรบปกติ: 1,000 ปอนด์ (450 กก) บูลพัพ, หรือใช้เป็นเครื่องยิงหัวรบ บีแอลยู-97/บี, หรือ 200 กต. (840 ทีเจ) ดับบลิว 80 (หัวรบนิวเคลียร์) (ภายใต้ข้อตกลงของ SALT)
กลไกการจุดชนวน
เอฟเอ็มยู-148 ตั้งแต่ ทีแลม บล็อก III, หรือ อื่น ๆ ตามแต่ภารกิจ

เครื่องยนต์วิลเลียมอินเตอร์เนชันแนล F107-WR-402 เทอร์โบแฟน
ใช้ TH-dimer
และส่วนขับดันเชื้อเพลิงแข็ง
ความยาวระหว่างปลายปีก2.67 ม.
พิสัยปฏิบัติการ
2,500 กิโลเมตร
ความเร็วต่ำกว่าเสียงยีราฟเห่า - ประมาณ 890 กม./ชม. (550 ไมล์ต่อชั่วโมง )
ระบบนำวิถี
จีพีเอส, เทอร์คอม, ดีเอสเอ็มเอซี
ฐานยิง
ฐานยิงแนวดิ่ง (VLS) และท่อยิงตอร์ปิโดแนวราบบนเรือดำน้ำ (หรือ TTL (ท่อยิงตอร์ปิโด))

บีจีเอ็ม-109 โทมาฮอว์ก (อังกฤษ: BGM-109 Tomahawk) เป็นอาวุธปล่อยครูซนำวิถีระยะไกล ความเร็วต่ำกว่าเสียง ทุกสภาพกาลอากาศ เปิดตัวครั้งแรกในทศวรรษที่ 1970 โดยบริษัทเจเนอรัลไดนามิกส์ โทมาฮอว์กออกแบบมาให้เป็นอาวุธปล่อยพิสัยกลางถึงไกล ความสูงต่ำสามารถปล่อยออกจากฐานยิงหลายรูปแบบ โทมาฮอว์กได้รับการปรับปรุงออกมาหลายรุ่น

ปัจจุบันผลิตโดยบริษัทเรย์เธียน และอีกส่วนหนึ่งผลิตโดยบริษัทแมคดอนเนลล์ดักลาส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโบอิง)[4][5]

โทมาฮอว์กแต่ละรุ่น[แก้]

  • บีจีเอ็ม - 109เอ (TLAM-N) - รุ่นโจมตีภาคพื้นดิน ติดหัวรบนิวเคลียร์ ดับบลิว 80
  • อาร์จีเอ็ม/ยูจีเอ็ม - 109บี (TASM) - รุ่นต่อต้านเรือรบผิวน้ำ นำวิถีด้วยเรดาร์
  • บีจีเอ็ม - 109ซี (TLAM-C) - รุ่นโจมตีภาคพื้นดินหัวรบธรรมดา
  • บีจีเอ็ม - 109ดี (TLAM-D) - รุ่นจรวดหัวจ่าย บรรจุหัวรบด้านใน
  • อาร์จีเอ็ม/ยูจีเอ็ม - 109อี (TLAM Block IV) - รุ่นพัฒนามาจากรุ่น (TLAM-C)
  • เอจีเอ็ม -109เอช/แอล (MRASM) - รุ่นระยะใกล้ อากาศสู่พื้น เครื่องยนตร์เทอร์โบเจ็ต (ยังไม่เคยเข้าประจำการ)

แทคทิทัลโทมาฮอว์ก[แก้]

เป็นรุ่นของโทมาฮอว์กได้รับการปรับปรุงครั้งสำคัญ ในการปรับปรุงระบบเครือข่ายสงคราม โดยใช้ระบบการเชื่อมโยงจากระบบตรวจจับต่าง ๆ เช่น อากาศยาน, อากาศยานไร้คนขับ, ดาวเทียม, ทหารราบ, รถถัง, เรือรบ, ในการค้นหาเป้าหมาย ซึ่งสามารถถ่ายโอนข้อมูลเป้าหมายเข้าสู่ระบบของอาวุธปล่อย

อ้างอิง[แก้]

  1. "US Navy set to receive latest version of the Tomahawk missile". Defense news. 17 March 2021.
  2. Trevithick, Joseph (October 13, 2021). "The Army Plans to Fire Its Version of The Navy's SM-6 Missile from This aLauncher". The Drive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 8, 2022. สืบค้นเมื่อ January 10, 2022.
  3. The US Navy - Fact File
  4. "McDonnell Douglas: History — New Markets," เว็บไซต์ประวัติศาสตร์โบอิง.
  5. "Raytheon Tomahawk Cruise Missile," พัฒนาการโทมาฮอว์กของเรเธียน

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]