ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาพประกอบสำหรับทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง
ภาพประกอบสำหรับทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง: ถ้า เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องนิยามบนช่วงปิด แล้วฟังก์ชันนี้จะส่งไปยังค่าทุกค่าที่อยู่ระหว่าง และ

ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง (อังกฤษ: Intermediate value theorem) เป็นทฤษฎีบทในสาขาการวิเคราะห์เชิงจริง ซึ่งกล่าวว่า ถ้า เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่หาค่าได้บนช่วงปิด แล้ว จะมีค่าได้ทุกค่าระหว่าง และ

ทฤษฎีบทนี้ให้ภาพความเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องอย่างชัดเจน ฟังก์ชันต่อเนื่องในมุมมองทั่ว ๆ ไป คือฟังก์ชันที่กราฟไม่ขาดตอน ดังนั้นหากฟังก์ชันต่อเนื่องลากเชื่อมสองจุดใด ๆ แล้วเส้นกราฟที่เชื่อมระหว่างจุดทั้งสองต้องลากเส้นแนวนอนที่ขวางระหว่างกลางสองจุดนั้นเสมอ

เนื้อหาของทฤษฎีบท[แก้]

ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง — ให้ เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่หาค่าได้บนช่วงปิด และ เป็นจำนวนจริงใด ๆ ที่อยู่ระหว่าง และ แล้วจะมี ที่ทำให้

ความเชื่อมโยงกับความบริบูรณ์ของจำนวนจริง[แก้]

ทฤษฎีบทนี้สมมูลกับความบริบูรณ์ของระบบจำนวนจริง และไม่เป็นจริงในฟีลด์ที่ไม่มีสมบัติความบริบูรณ์[1] ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชัน ที่นิยามบน สอดคล้องกับสมการ และ แต่ไม่มีจำนวนตรรกยะ ใดที่สอดคล้องกับ ทั้งนี้เพราะว่า เป็นจำนวนอตรรกยะ

พิสูจน์[แก้]

บทพิสูจน์นี้อาศัยความบริบูรณ์ของจำนวนจริง

พิสูจน์ —

เราจะพิสูจน์ในกรณีที่ สำหรับกรณีอื่น ๆ ทำได้เช่นกัน

ให้ เป็นเซตของจำนวน ทั้งหมดที่ซึ่ง แล้ว จะไม่เป็นเซตว่างเพราะมี เป็นสมาชิก นอกจากนี้ มีขอบเขตบนคือ

จากสมบัติความบริบูรณ์ของจำนวนจริง จะได้ว่า มีขอบเขตบนน้อยสุด จึงให้แทนด้วย

จะพิสูจน์ว่า แล้วจะได้ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง

ให้ เป็นจำนวนจริงใด ๆ เนื่องจาก ต่อเนื่อง ดังนั้นจะมี ที่ทำให้ ทุกค่า ดังนั้นจะได้ว่า

สำหรับทุก

โดยอาศัยสมบัติของขอบเขตบนน้อยสุด จะมี ที่อยู่ใน และทำให้

.

เช่นกัน จะมี ที่สอดคล้องกับ เพราะ เป็นค่าขอบเขตบนน้อยสุดของ

จึงได้

.

จากทั้งสองอสมการเราพบว่า

เป็นจริงสำหรับทุก ซึ่งทำให้ได้ว่า ตามต้องการ

มีบทพิสูจน์แบบอื่นที่อาศัยวิธีการผ่าครึ่ง (Bisection method)[1] ซึ่งนำไปสู่ขั้นตอนวิธีการหารากโดยใช้วิธีการผ่าครึ่ง

หมายเหตุ: ทฤษฎีบทค่าระหว่างกลางสามารถพิสูจน์ได้ในการวิเคราะห์แบบไม่มาตรฐาน ซึ่งใช้แนวความคิดเกี่ยวกับกณิกนันต์อย่างรัดกุม[2]

บทแทรก[แก้]

ทฤษฎีบทต่อนี้เป็นผลโดยทันทีจากทฤษฎีบทค่าระหว่างกลาง

  • ทฤษฎีบทของบ็อลท์ซาโน (Bolzano's theorem): ถ้าฟังก์ชันต่อเนื่องเปลี่ยนเครื่องหมายบนช่วงใด แล้วฟังก์ชันนั้นจะมีรากในช่วงนั้น
  • ภาพของฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงใด จะเป็นช่วงด้วย


อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Körner, T. W. (2004). A companion to analysis : a second first and first second course in analysis. Providence, R.I.: American Mathematical Society. ISBN 0-8218-3447-9. OCLC 53038515.
  2. Sanders, Sam (2017). "Nonstandard Analysis and Constructivism!". arXiv:1704.00281 [math.LO].

ดูเพิ่ม[แก้]

ลิงก์เพิ่มเติม[แก้]