การโอนผ่านยุคหลังโซเวียตของยูเครน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐยูเครน

Українська Республіка
Ukrayins’ka Respublika
1991–1996
ธงชาติยูเครน
บน: ธงชาติ (1991–92)
ล่าง: ธงชาติ (1992–96)
ที่ตั้งของยูเครน
เมืองหลวงเคียฟ
ภาษาทั่วไปภาษายูเครนa[1] · ภาษารัสเซีย[2]
เดมะนิมชาวยูเครน
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบกึ่งประธานาธิบดี รัฐบาลเปลี่ยนผ่าน
ประธานาธิบดี 
• 1991–1994 (คนแรก)
แลออนิด เกราชุก
• 1994–1996 (คนสุดท้าย)
แลออนิด กุชมา
นายกรัฐมนตรี 
• 1991–1992 (คนแรก)
วีตอล์ด ฟอกิน
• 1996 (คนสุดท้าย)
เปาลอ ลาซาแรนกอ
สภานิติบัญญัติVerkhovna Rada[3]
ประวัติศาสตร์ 
16 มิถุนายน 1990
24 สิงหาคม 1991
1 ธันวาคม 1991
10 ธันวาคม 1991
26 ธันวาคม 1991
28 มิถุนายน 1996
พื้นที่
1991603,700 ตารางกิโลเมตร (233,100 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1991
51706746
สกุลเงินการ์บอวาแนตยูเครน
ก่อนหน้า
ถัดไป
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
สหภาพโซเวียต
ประเทศยูเครน
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ ยูเครน
 รัสเซีย (พิพาท)

การโอนผ่านยุคหลังโซเวียตของยูเครน เป็นยุคโอนผ่านระหว่างการประกาศเอกราชของยูเครนจากสหภาพโซเวียตในปี 1991 จนถึงการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ในปี 1996 โดยหลังจากที่รัฐธรรมนูญประกาศใช้ ประเทศจึงมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการคือ "ยูเครน" แทนที่ "สาธารณรัฐยูเครน"[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Law of Ukraine "About languages of the Ukrainian SSR"
  2. Language Policy in the Soviet Union by Lenore Grenoble, Springer Science+Business Media, 2003, ISBN 978-1-4020-1298-3.
  3. History of Ukraine - The Land and Its Peoples by Paul Robert Magocsi, University of Toronto Press, 2010, ISBN 1442640855
  4. "Ukraine: vie politique depuis 1991". Larousse.