การบูชาพระคัมภีร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การบูชาพระคัมภีร์ (อังกฤษ: Bibliolatry จากภาษากรีกโบราณ: βιβλίον biblion, "หนังสือ" และคำต่อท้าย -λατρία -latria, "การบูชา")[1][2] เป็นการบูชาหนังสือ การไหว้รูปเคารพหนังสือ หรือทำให้หนังสือเป็นพระเจ้า[3][4][5] โดยเป็นรูปแบบหนึ่งของการบูชารูปปั้น[4] โองการจากคัมภีร์บางศาสนาสั่งห้ามไม่ให้บูชาสัญลักษณ์ แต่ต่อมาโองการจากคัมภีร์ทำให้มีความศักดิ์สิทธิ์เหมือนรูปปั้น และผู้ศรัทธาอาจจบลงที่การบูชาหนังสือ[6] การบูชาพระคัมภีร์สามารถนำไปสู่ลัทธิฟื้นฟู (revivalism), ไม่อนุญาตตำหนิ และการข่มเหงหลักคำสอนที่ไม่เป็นที่นิยม[7]

ศาสนาคริสต์ใช้คำนี้ถึงผู้ที่ความจงรักภักดีต่อคัมภีร์ไบเบิลแบบสุดขั้ว หรือหลักคำสอนของผู้ที่ไม่เข้าใจคำภีร์ไบเบิล (biblical inerrancy)[8] ผู้สนับสนุนความไม่เข้าใจในพระคัมภีร์ไบเบิลมักชี้จุดยืนยันความเชื่อของตน (เช่น 2 ทิโมธี 3:16–17[9]) การตีความว่าคัมภีร์ไบเบิลเป็นหลักฐานอันสมบูรณ์จากพระผู้เป็นเจ้า นักวิจารณ์มองว่าเป็นรูปแบบการบูชา ดังตัวอย่างจากยอห์น 5:39–40[10] เพื่อระบุว่าพระเยซูตรัสแก่มนุษยชาติให้มีความสัมพันธ์กับพระเจ้ามากกว่าการตามกฎหมายอย่างหน้ามืดตามัว[11]

ในอดีต ศาสนาคริสต์ไม่อนุมัติให้สักการะคัมภีร์ไบเบิล โดยสักการะพระเจ้าเท่านั้น ชาวคริสต์บางส่วนเชื่อว่าอำนาจในพระคัมภีร์มาจากพระเจ้า ผ่านทางแรงบันดาลใจจากโองการ ไม่ใช่ในตัวโองการ[12] คำว่า "การบูชาพระคัมภีร์" ไม่ได้สื่อถึงความเชื่อ แต่ในอภิปรายผลเทววิทยาอาจใช้คำว่า การดูหมิ่น (pejorative) เพื่อสื่อถึงการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม.[13] ฝ่ายตรงข้ามอาจใช้คำว่า "การบูชาพระคัมภีร์" กับบางกลุ่ม ได้แก่ โปรเตสแตนต์แบบมูลฐานนิยมกับอีแวนจาลิคัล เช่น ขบวนการคิงเจมส์เท่านั้น (King James Only movement) ที่สนับสนุนความไม่เข้าใจในพระคัมภีร์ และ โซลาสคริปตูรา (พระคัมภีร์คืออำนาจศักดิ์สิทธิ์อย่างเดียว)[14]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "bibliolatry". Random House Webster's Unabridged Dictionary.
  2. Eric Ziolkowski (2017). A Handbook of Biblical Reception in Jewish, European Christian, and Islamic Folklores. Walter de Gruyter GmbH & Co KG. pp. 5150–. ISBN 978-3-11-038868-8.
  3. David Norton (2000). A History of the English Bible as Literature. Cambridge University Press. pp. 299–306. ISBN 978-0-521-77807-7.
  4. 4.0 4.1 William H. Brackney; Craig A. Evans (2007). From Biblical Criticism to Biblical Faith: Essays in Honor of Lee Martin McDonald. Mercer University Press. p. 318. ISBN 978-0-88146-052-0. Worship of a book is condemned by scriptures cherished by Jews, Christians, and Muslims. As Samuel Taylor Coleridge (1772-1834) pointed out, 'Biblioloatry is a form of idolatry.'
  5. Kent Eaton (2015). Protestant Missionaries in Spain, 1869–1936. Lexington Books. pp. 96–97. ISBN 978-0-7391-9411-9.
  6. "12 worst ideas religion has unleashed on the world: Conflict, cruelty and suffering -- not love and peace". Salon (ภาษาอังกฤษ). 2015-05-19. สืบค้นเมื่อ 2020-09-15.
  7. Berrow, James Hughes (1862). Bibliolatry (ภาษาอังกฤษ).
  8. Geisler, Norman L.; Paul D. Feinberg (1980). Introduction to philosophy : a Christian perspective. Grand Rapids, Michigan: Baker Book House. ISBN 978-0-8010-3735-1. p. 307
  9. "ทุกๆข้อในพระคัมภีร์ พระเจ้าเป็นผู้ดลใจให้เขียนขึ้นมา เพื่อเป็นประโยชน์ในการสั่งสอนความจริง ชี้ให้คนเห็นถึงความบาปในชีวิต ช่วยปรับปรุงแก้ไขให้คนดีขึ้น และฝึกคนให้ทำตามใจพระเจ้า เพื่อเตรียมคนของพระเจ้าให้พร้อมที่จะทำดีทุกอย่าง"
  10. "พวกคุณศึกษาพระคัมภีร์อย่างละเอียด เพราะคิดว่ามันจะให้คุณมีชีวิตกับพระเจ้าตลอดไป พระคัมภีร์นั้นได้พูดถึงเรา แต่พวกคุณกลับไม่ยอมมาหาเราเพื่อจะได้มีชีวิตกับพระเจ้าตลอดไป"
  11. Bible Study is Not Enough - Avoiding the ditch of Bibliolatry - Dr. Dan Hayden.
  12. Alexander, T. Desmond; Brian S Rosner (2020). New Dictionary of Biblical Theology. Leicester: Inter-Varsity. ISBN 9781789740400. Biblical authority is derived from the authority of its divine author and from its content as God's word about Christ. The book is not inherently divine and bibliolatry has never been an acceptable option for Christians.
  13. For example: Thuesen, Peter J. (1999). "The Blood of the Martyr: History, Hagiography, and the consecration of the English Bible". In Discordance with the Scriptures: American Protestant Battles Over Translating the Bible. Religion in America. New York: Oxford University Press. p. 30. ISBN 9780195351941. สืบค้นเมื่อ 13 June 2020. Nearly all American Protestants internalized in some way the Puritan glorification of word over image, although what once was a native command of biblical language often degenerated into a mere bibliolatry. And this bibliolatry, while taking a variety of forms, usually included an implicit (or explicit) anti-Catholicism.
  14. Parent, Mark (2006) [1996]. "The Irony of Fundamentalism: T. T. Shields and the Person of Christ". ใน Priestley, David T. (บ.ก.). Memory and Hope: Strands of Canadian Baptist History. Editions SR. Vol. 19. Waterloo, Ontario: Wilfrid Laurier University Press. p. 192. ISBN 9780889206427. สืบค้นเมื่อ 13 June 2020. [...] the charge of 'bibliolatry' with which fundamentalism has been so often accused. [...] bibliolatry [...] has been the charge attached to various Protestants from the Reformation onward. The slogan 'the bible and the bible only is the religion of Protestants' [...] has led many to conclude that certain elements within Protestantism, if not all of it, fell into unhealthy veneration and use of the Scriptures. It is an accusation which has been levelled more recently against the fundamentalists.