การก่อการกำเริบในหุบเขาเพรเชวอ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การก่อกำเริบในหุบเขาพรีสเวอ
ส่วนหนึ่งของ สงครามยูโกสลาเวีย
วันที่12 มิถุนายน พ.ศ. 2542 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2544[1]
(1 ปี 11 เดือน 2 สัปดาห์ 6 วัน)
สถานที่
ผล

ยูโกสลาเวียชนะ[2]

คู่สงคราม
UÇPMB  ยูโกสลาเวีย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

Muhamet Xhemajli
(ผู้บังคับบัญชา UÇPMB)
Ridvan Qazimi "Lleshi"  
(รองผู้บังคับบัญชา UÇPMB)
Shefket Musliu
(หัวหน้า UÇPMB)[4]
Pacir Shicri
(โฆษก UÇPMB)[5]

Tahir Dalipi
(โฆษก UÇPMB)
Slobodan Milošević
(ประธานาธิบดี, 1999–2000)
Vojislav Koštunica
(รองประธานาธิบดี, 2000–01)
Nebojša Pavković
(เสนาธิการทหาร)
Ninoslav Krstić
(พลเอกแห่งกองทัพ)
Goran Radosavljević
(ผู้บังคับบัญชาการสำนักงานตำรวจ)
Milorad Ulemek
(ตำรวจลับ)
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
กำลัง
แบ่งแยกดินแดน 1,600 คน[6] สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ทหารและเจ้าหน้าที่ตำรวจ 3,500 คน
สมาชิกกองกำลัง JSO 100 คน
ความสูญเสีย
ตาย 27 คน
400 คนยอมจำนนต่อ KFOR
ตาย 18 คน
บาดเจ็บ 68 คน
พลเรือนเสียชีวิต 15 คน (เซอร์เบีย 8 คน, อัลบาเนีย 7 คน)
2 ผู้สังเกตการณ์ของสหประชาชาติได้รับบาดเจ็บ

การก่อกำเริบในหุบเขาพรีสเวอ (อังกฤษ : Insurgency in the Preševo Valley) เป็นความขัดแย้งระหว่างสหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวียและกลุ่มแบ่งแยกดินแดนแอลเบเนียของกองทัพปลดปล่อยพีโสโว, แม็ทวิด้า และบูจูนอแวค (อังกฤษ : Liberation Army of Preševo, Medveđa and Bujanovac ; อักษรย่อ : UÇPMB)

มีกรณีระหว่างความขัดแย้งที่รัฐบาลยูโกสลาเวียร้องขอให้ KFOR สนับสนุนการปราบปรามการโจมตีของ UÇPMB เนื่องจากพวกเขาใช้กองกำลังติดอาวุธที่มีอาวุธเบาเป็นส่วนหนึ่งของข้อตกลงคองโคส ซึ่งยุติสงครามคอซอวอซึ่งสร้างเขตกันชนเพื่อให้กลุ่มยูโกสลาเวีย

อ้างอิง[แก้]

  1. "Mine kills Serb police". BBC News. October 14, 2000.
  2. David Holley (25 May 2001). "Yugoslavia Occupies Last of Kosovo Buffer". LA Times. สืบค้นเมื่อ 27 December 2012.
  3. http://www.crisisgroup.org/en/regions/europe/balkans/serbia/152-southern-serbias-fragile-peace.aspx
  4. "Rebel Albanian chief surrenders". BBC News. May 26, 2001.
  5. "British K-For troops under fire". BBC News. January 25, 2001.
  6. "Kosovo rebels accept peace talks". BBC News. February 7, 2001.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]