กลุ่มหน่วยรบพิเศษ (ญี่ปุ่น)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กลุ่มปฏิบัติการพิเศษ (2546 – 2552)
กลุ่มหน่วยรบพิเศษ (2552 – ปัจจุบัน)
特殊作戦群
ตราสังกัดกลุ่มหน่วยรบพิเศษ
ประจำการ27 มีนาคม พ.ศ. 2547 – ปัจจุบัน
ประเทศ ญี่ปุ่น
เหล่า กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น
รูปแบบหน่วยรบพิเศษ
บทบาทการยุทธ์เคลื่อนที่ทางอากาศ
หน่วยส่งทางอากาศ
การป้องกัน คชรน.
การยุทธระยะประชิด
การสงครามในอากาศหนาว
การต่อต้านการแพร่กระจาย
การปราบปรามการก่อกบฏ
การต่อต้านการก่อการร้าย
การปฏิบัติภารกิจโดยตรง
อารักขาบุคคลสำคัญ
เป้าหมายที่คุ้มค่า
ชิงตัวประกัน
การสงครามป่า
การเข้าตีเจาะระยะไกล
การสงครามภูเขา
การตีโฉบฉวย
การลาดตระเวน
การปฏิบัติการพิเศษ
การลาดตระเวนพิเศษ
การสงครามนอกแบบ
กำลังรบชั้นความลับ, ประมาณการที่ 300
ขึ้นกับหน่วยบัญชาการกำลังรบภาคพื้นดิน (ภาษาญี่ปุ่น)​
กองบัญชาการค่ายนาราชิโนะ, ฟูนาบาชิ, จังหวัดชิบะ
สมญาSFGp/Special Forces Group
(ชื่อใหม่)
TOKUSENGUUN,TOKUSEN (ในภาษาญี่ปุ่น)
SOG/Special Operations Group (ชื่อเดิม)
ปฏิบัติการสำคัญสงครามอิรัก
  • การก่อความไม่สงบในอิรัก
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการปัจจุบันพันเอกทากาโนริ ฮิราตะ
สมาชิกกลุ่มหน่วยรบพิเศษ ใน พ.ศ. 2550

กลุ่มหน่วยรบพิเศษ (ญี่ปุ่น: 特殊作戦群โรมาจิTokushusakusengun) เป็นหน่วยรบพิเศษและหน่วยต่อต้านการก่อการร้าย ของกองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2547 โดยกระทรวงกลาโหมญี่ปุ่น เพื่อดำเนินหน้าที่การต่อต้านการก่อการร้ายและการสงครามกองโจร ที่เป็นภัยคุกคามประเทศญี่ปุ่น[1] และควบคุมการปฏิบัติการทางทหารเพื่อต่อต้านการสงครามกองโจร หรือศัตรูที่เป็นกำลังรบพิเศษ[2][3]

ฐานบัญชาการหน่วยตั้งที่ค่ายนาราชิโนะ ในเมืองฟูนาบาชิ, จังหวัดชิบะ ร่วมกับกองพลน้อยส่งทางอากาศที่ 1 ชื่อของหน่วยนี้แรกเริ่มมีชื่อว่า กลุ่มปฏิบัติการพิเศษ.[3]

กลุ่มหน่วยรบพิเศษนี้ ได้ถูกกล่าวถึงว่าเป็นกองกำลังรบพิเศษของญี่ปุ่นที่เทียบเท่ากับกรีนเบอเรต์และกองกำลังเดลตาของสหรัฐ[4] และในช่วงบุกเบิกของการก่อตั้งได้กำลังพลจากทั้ง 2 หน่วย เข้ามาช่วยพัฒนาและสนับสนุน จนได้ก่อตั้งกลุ่มหน่วยรบพิเศษของญี่ปุ่นขึ้นมา

ประวัติ[แก้]

โครงสร้าง[แก้]

การฝึก[แก้]

ยุทโธปกรณ์[แก้]

พาหนะ[แก้]

เอกลักษณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Japan Sets Up Its 1st Special Ground Operations Unit". Asia Africa Intelligence Wire. 29 March 2004. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
  2. "What is the CRF (Central Readiness Force)?". สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
  3. 3.0 3.1 特殊作戦群 (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2008. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
  4. "Japan launches counter-terrorism force". The China Post. 7 April 2007. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
  5. 全文掲載:飯柴大尉の声明文. เก็บถาวร 2009-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved on January 12, 2009. (ในภาษาญี่ปุ่น)
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 陸上自衛隊唯一の特殊部隊 特殊作戦群の解説 (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 November 2011. สืบค้นเมื่อ 30 May 2021.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 14hk093 (PDF) (ในภาษาญี่ปุ่น) Retrieved 2015-05-26

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]