กรดคลอริก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรดคลอริก
Chloric acid
Chloric acid
กรดคลอริก
ชื่อ
ชื่ออื่น
Chloric(V) acid
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.029.303 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • InChI=1/ClHO3/c2-1(3)4/h(H,2,3,4)
    Key: XTEGARKTQYYJKE-UHFFFAOYAG
  • O=Cl(=O)O
คุณสมบัติ
HClO3
มวลโมเลกุล 84.45914 g mol−1
ลักษณะทางกายภาพ สารละลายไม่มีสี (ใส)
ความหนาแน่น 1 g/ml, สารละลาย (ค่าประมาณ)
>40 g/100 ml (20 °C)
pKa ประมาณ −1
โครงสร้าง
ทรงพีระมิด
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
ตัวออกซิไดซ์, สารกัดกร่อน
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
กรดโบรมิก
กรดไอโอดิก
แคทไอออนอื่น ๆ
แอมโมเนียมคลอเรต
โซเดียมคลอเรต
โพแทสเซียมคลอเรต
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

กรดคลอริก (อังกฤษ: Chloric acid) มีสูตรเคมีว่า HClO3 เป็นกรดออกโซ (กรดที่ประกอบด้วยธาตุออกซิเจน) ของคลอรีน และถือว่าเป็นสารประกอบเกลือคลอเรตตัวแรกในลำดับที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ กรดคลอริกเป็นกรดแก่ มีค่าคงที่สมดุลของกรด (pKa) ประมาณ −1 และยังเป็นตัวรับอิเล็กตรอน (oxidant) อีกด้วย

การเตรียม[แก้]

กรดคลอริกเตรียมได้จากการนำกรดกำมะถันทำปฏิกิริยากับแบเรียมคลอเรต จะทำให้เกิดกรดคลอริกและตะกอนแบเรียมซัลเฟต เขียนเป็นสมการเคมีได้ดังนี้

หรืออาจเตรียมได้โดยการให้ความร้อนแก่กรดไฮโปคลอรัส ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นกรดคลอริกพร้อมกับไฮโดรเจนคลอไรด์ เขียนเป็นสมการเคมีดังนี้

อ้างอิง[แก้]

  • Greenwood, Norman N.; Earnshaw, Alan (1997). Chemistry of the Elements (2nd ed.). Butterworth–Heinemann. ISBN 0-080-37941-9.
  • R. Bruce King, ed. (1994). "Chloric acid". Encyclopedia of Inorganic Chemistry. 2. Chichester: Wiley. หน้า 658. ISBN 0-471-93620-0.