ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงเคลง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับปรุงบทความและแก้ไขลิงก์เสีย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|สปีชีส์|ชื่อวงศ์|วงศ์โคลงเคลง}}
{{ความหมายอื่น|สปีชีส์|ชื่อวงศ์|วงศ์โคลงเคลง}}
{{ความหมายอื่น|พืช|พื้นที่หรือ[[แขวง]]ใน[[เขตธนบุรี]]|แขวงสำเหร่}}
{{ความหมายอื่น|พืช|พื้นที่หรือ[[แขวง]]ใน[[เขตธนบุรี]]|แขวงสำเหร่}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}

{{ตารางจำแนกพันธุ์
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| color = lightgreen
| color = lightgreen
บรรทัด 16: บรรทัด 18:
| species = '''โคลงเคลง''' (''M. malabathricum'')
| species = '''โคลงเคลง''' (''M. malabathricum'')
| subspecies = '''โคลงเคลง''' (''M. m. malabathricum'')
| subspecies = '''โคลงเคลง''' (''M. m. malabathricum'')
| binomial =
| binomial = Melastoma malabathricum
| binomial_authority =
| binomial_authority = [[Carl Linnaeus|L.]]
| subdivision =
| subdivision =
| subdivision_ranks =
| subdivision_ranks =
|synonyms = *''Melastoma affine'' <small>D. </small>
*''Melastoma candidum '' <small>D. Don </small>
*''Melastoma cavaleriei'' <small> H. Lév. & Vaniot </small>
*''Melastoma esquirolii'' <small> H. Lév. </small>
*''Melastoma malabathricum var. normale '' <small>(D. Don) R.C. Srivast. </small>
*''Melastoma malabathricum subsp. normale'' <small> (D. Don) K.Mey. </small>
*''Melastoma normale '' <small>D. Don </small>
*''Melastoma polyanthum '' <small>Blume </small><ref>{{Cite web | url=http://www.theplantlist.org/tpl/record/tro-20302081 | title=Melastoma malabathricum L. |publisher=the Plant List|date=2010}}</ref>
}}
}}
[[ไฟล์:Art Plant Melastoma malabathricum.jpg|thumb|200px|ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์]]
<!-- <ref>ไมร์ทาเลส [http://web.archive.org/web/20071025140756/arc.kru.ac.th/dewey/500/583.html ฐานข้อมูลระบบดิวอี้ : 583 พืชใบเลี้ยงคู่ (Dicotyledons)] [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี]]</ref> -->


'''โคลงเคลง''' หรือ '''สำเหร่''' ({{lang-en|Malabar melastome (Indian rhododendron)}}) เป็น[[ไม้ดอก]][[ล้มลุก]]ประเภท[[ใบเลี้ยงคู่]] กิ่งสี่เหลี่ยมมักมีขนปกคลุม ใบเป็นใบเดี่ยวคู่ตรงข้าม เรียงแบบสลับน้อย เส้นใบ 3-9 ออกจากจุดเดียวกันตรงฐานใบ แล้วเบนเข้าหาปลายใบ เส้นใบย่อยเรียงแบบขั้นบันได ไม่มีหูใบ ออกดอกเป็นช่อ สมบูรณ์เพศ มีสมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 3-6 (ส่วนใหญ่ 5) กลีบดอก 5 เรียงเกยซ้อนกันในดอกอ่อน เกสรเพศผู้ (ก้านชูอับละอองเรณู) มีประมาณ 10 เกสรเรียงเป็น 2 วงและมีรยางค์ รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ผลเมื่อแก่เปลือกจะแห้ง และแตกออก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก มีสรรพคุณเป็นยาพื้นบ้าน แก้คอพอก แก้อาเจียนเป็นเลือด และถ่ายเป็นเลือด รากใช้เป็นยา แก้ร้อนในกระหายน้ำ
'''โคลงเคลง''' หรือ '''สำเหร่''' ({{lang-en|Malabar melastome}} หรือ Indian rhododendron) เป็นพืช[[ใบเลี้ยงคู่]] ประเภท [[ไม้ดอก]][[ล้มลุก]]ในวงศ์ โคลงเคลง (Melastomataceae) ลักษณะกิ่งสี่เหลี่ยมมักมีขนปกคลุม ใบเป็นใบเดี่ยวคู่ตรงข้าม เรียงแบบสลับน้อย เส้นใบ 3-9 ออกจากจุดเดียวกันตรงฐานใบ แล้วเบนเข้าหาปลายใบ เส้นใบย่อยเรียงแบบขั้นบันได ไม่มีหูใบ ออกดอกเป็นช่อ สมบูรณ์เพศ มีสมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 3-6 (ส่วนใหญ่ 5) กลีบดอก 5 เรียงเกยซ้อนกันในดอกอ่อน เกสรเพศผู้ (ก้านชูอับละอองเรณู) มีประมาณ 10 เกสรเรียงเป็น 2 วงและมีรยางค์ รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ผลเมื่อแก่เปลือกจะแห้ง และแตกออก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เป็นพืชพิ้นเมืองในบริเวณ[[ชีวภูมิศาสตร์|ชีวภูมิภาค]] อินโดมาลายา, ญี่ปุ่น และ ออสเตรเลีย พบได้ทั่วไปในทุ่งหญ้าและป่าโปร่ง ที่ความสูงระหว่าง 100 ถึง 2,800 เมตร<ref>{{Cite web|url=http://www.efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=242413697|title=Melastoma malabathricum|publisher=Flora of China|volume=13|pages=364-365}}</ref> มีสรรพคุณเป็นยาพื้นบ้านในหลายพื้นที่ของโลก<ref>{{Cite web|url=http://www.hindawi.com/journals/ecam/2012/258434/|title=Melastoma malabathricum (L.) Smith Ethnomedicinal Uses, Chemical Constituents, and Pharmacological Properties: A Review|author1=S. Mohd. Joffry|author2=N. J. Yob|author3=M. S. Rofiee|display-authors=2|doi=10.1155/2012/258434}}</ref> แก้คอพอก แก้อาเจียนเป็นเลือด และถ่ายเป็นเลือด รากใช้เป็นยา แก้ร้อนในกระหายน้ำ แต่ได้ถูกระบุว่าเป็นวัชพืชที่เป็นภัยคุกคามในสหรัฐอเมริกา<ref>{{Cite web| url=http://www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/taxon.pl?23928| title=Melastoma malabathricum| work=[[:en:Germplasm Resources Information Network|Germplasm Resources Information Network]] (GRIN) online database| accessdate=12 January 2018}}</ref> โคลงเคลงสามารถสะสมธาตุ[[อลูมิเนียม]]โดยการดูดซืมทางรากได้มาก จึงสามารถนำมาใช้ใน[[การฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมด้วยพืช]]<ref>{{Cite journal|title=Aluminum accumulation in the roots of Melastoma malabathricum, an aluminum accumulating plant|url=https://www.researchgate.net/publication/230616077_Aluminum_accumulation_in_the_roots_of_Melastoma_malabathricum_an_aluminum_accumulating_plant|author1=Toshihiro Watanabe|author2=Seiji Misawa|author3=Mitsuru Osaki|journal=Canadian Journal of Botany|volume=83|number=11|pages=1518-1522|date=November 2005}}</ref>


== ชื่อท้องถิ่น ==
== ชื่อท้องถิ่น ==
* กะดูดุ (มลายู-ปัตตานี)
* กะดูดุ ([[ภาษามลายูปัตตานี|มลายู-ปัตตานี]])
* กาดูโด๊ะ (มลายู-สตูล, ปัตตานี)
* กาดูโด๊ะ ([[ภาษามลายูเกอดะฮ์|มลายู-สตูล]], ปัตตานี)
* โคลงเคลงขี้นก, โคลงเคลงขี้หมา (ตราด)
* โคลงเคลงขี้นก, โคลงเคลงขี้หมา (ตราด)
* ซิซะโพะ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี)
* ซิซะโพะ ([[ภาษากะเหรี่ยง|กะเหรี่ยง]]-กาญจนบุรี)
* ตะลาเด๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
* ตะลาเด๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
* เบร์, มะเหร, มังเคร่, มังเร้, สาเร, สำเร (ภาคใต้)
* เบร์, มะเหร, มังเคร่, มังเร้, สาเร, สำเร (ภาคใต้)
* มายะ (ชอง-ตราด)
* มายะ ([[ภาษาชอง|ชอง]]-ตราด)
* อ้า, อ้าหลวง (ภาคเหนือ)
* อ้า, อ้าหลวง (ภาคเหนือ)

== อนุกรมวิธาน ==
อนุกรมวิธานของสกุล Melastoma ต้องการข้อสรุปของการทบทวน<ref name=Fl-Australia>{{Cite book | last1= Whiffin | first1= Trevor | year= 1990 | contribution= Melastoma | contributionurl= http://www.anbg.gov.au/abrs/online-resources/flora/stddisplay.xsql?pnid=47144 | title= Flora of Australia: Volume 18: Podostemaceae to Combretaceae | url= <!--http://www.environment.gov.au/biodiversity/abrs/publications/flora-of-australia/vol18.html --> | series= Flora of Australia series | pages= 247–248 | publisher= CSIRO Publishing / Australian Biological Resources Study | isbn= 978-0-644-10472-2 | accessdate= 18 June 2013 }}</ref> ซึ่งการศึกษา[[พันธุกรรม]]ในเบื้องต้นได้รับการตีพิมพ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544<ref name=Clausing-Renner-2001>{{Cite journal | last1= Clausing | first1= G. | last2= Renner | first2= Susanne S. | year= 2001 | title= Molecular phylogenetics of Melastomataceae and Memecylaceae: implications for character evolution | journal= American Journal of Botany | volume= 88 | issue= 3 | pages= 486–498 | url= http://www.amjbot.org/content/88/3/486.short | accessdate= 19 June 2013 | doi=10.2307/2657114| jstor= 2657114 }} – see also the erratum.</ref> แต่ยังไม่มีการปรับปรุงแก้ไขจากข้อมูลดังกล่าว<ref name=Michelangeli2013>{{Cite journal| last1= Michelangeli | first1= Fabián A.| last2= Guimaraes | first2= Paulo J. F. | last3= Penneys | first3= Darin S. | display-authors= 3| last4= Almeda | first4= Frank | last5= Kriebel | first5= Ricardo| date= 2013| title= Phylogenetic relationships and distribution of New World Melastomeae (Melastomataceae)| journal= Botanical Journal of the Linnean Society | volume= 171 | issue= 1 | pages= 38–60| doi= 10.1111/j.1095-8339.2012.01295.x| issn= 1095-8339}}</ref> ในปีเดียวกัน Karsten Meyer เสนอการแก้ไขให้สปีชีส์ Melastoma affine และสายพันธุ์อื่น ๆ รวมอยู่ในสปีชีส์ M. malabathricum<ref name=Meyer2001>{{Cite journal | last1= Meyer | first1= Karsten | year= 2001 | title= Revision of the Southeast Asian genus ''Melastoma'' (Melastomataceae) | journal= Blumea | volume= 46 | issue= 2 | pages= 351–398 | url= }}</ref>

ในออสเตรเลียปัจจุบันหน่วยงานส่วนใหญ่ไม่ยอมรับข้อเสนอนี้ โดยสายพันธุ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติใน[[รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย]], [[นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี]], [[รัฐควีนส์แลนด์]] และบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของ[[รัฐนิวเซาธ์เวลส์]] ยังคงแยกเป็นสปีชีส์ M. affine<ref name=APNI>{{Cite web | url= http://www.anbg.gov.au/cgi-bin/apni?00TAXON_NAME=Melastoma%25 | type= listing by % wildcard matching of all taxa relevant to Australia | work = [[:en:Australian Plant Name Index|Australian Plant Name Index]] (APNI), Integrated Botanical Information System (IBIS) database | publisher= Centre for Plant Biodiversity Research, Australian Government | accessdate= 18 June 2013 |title = Vascular Plants}}<!-- {{APNI | id= [59682,59710,232853,59833] … }} --></ref><ref name=NSW-PlantNet>{{Cite web |url=http://plantnet.rbgsyd.nsw.gov.au/cgi-bin/NSWfl.pl?page=nswfl&lvl=sp&name=Melastoma~affine |last1=Wilson |first1 = Peter G. |date=July 2001 |title= ''Melastoma affine'' D.Don – New South Wales Flora Online |work=PlantNET - The Plant Information Network System |location=Sydney, Australia |publisher=The Royal Botanic Gardens and Domain Trust |version=2.0 |accessdate= 18 June 2013}}</ref> ยกเว้นหน่วยงานในรัฐควีนส์แลนด์<ref name=AustTRFPK6.1>{{Cite web | author1=Hyland, B. P. M.| author2=Whiffin, T.| author3=Zich, F. A.| display-authors=2| date=December 2010| title=Factsheet – Melastoma malabathricum subsp. malabathricum| url=http://keys.trin.org.au:8080/key-server/data/0e0f0504-0103-430d-8004-060d07080d04/media/Html/taxon/Melastoma_malabathricum_subsp._malabathricum.htm| work=Australian Tropical Rainforest Plants| edition=6.1 [RFK 6.1]| place=Cairns, Australia| publisher=Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation ([[:en:CSIRO|CSIRO]]); the Australian Tropical Herbarium, James Cook University| accessdate=18 June 2013}}</ref><ref name="Census-Qld–Flora-2010">{{Cite book | editor1-last= Bostock | editor1-first= P.D. | editor2-last= Holland | editor2-first= A.E. | year= 2010 | url= http://www.ehp.qld.gov.au/plants/census_qld_flora.html | title= Census of the Queensland Flora 2010 | location= Brisbane | publisher= Queensland Herbarium, Department of Environment and Resource Management | page= 101 | accessdate= 18 June 2013 }}</ref> สายพันธุ์ที่ขึ้นในออสเตรเลียในลักษณะวัชพืชมีรูปแบบดอกหลายแบบ ในทางทิศใต้กว่าการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติของ M. affine ได้รับการยอมรับว่าเป็นสปีชีส์ M. malabathricum L.<ref>{{Cite journal | last1= Hosking | first1= J. R. | last2= Conn | first2= B. J. | last3= Lepschi | first3= B. J. | last4= Barker | first4= C. H. | year= 2011 | title= Plant species first recognised as naturalised or naturalising for New South Wales in 2004 and 2005 | journal= Cunninghamia | volume= 12 | issue= 1 | pages= 85–114 | url= http://www.rbgsyd.nsw.gov.au/__data/assets/pdf_file/0020/116372/cun121hos085.pdf | archive-url= https://web.archive.org/web/20140426202223/http://www.rbgsyd.nsw.gov.au/__data/assets/pdf_file/0020/116372/cun121hos085.pdf | archive-date= 26 April 2014 | accessdate= 18 June 2013 }}</ref>

== ลักษณะ ==
โคลงเคลง เติบโตบนดินหลากหลายตั้งแต่ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับความสูงกว่า 3,000 เมตร เป็นไม้พุ่มตั้งตรงและออกดอกชุก ที่เติบโตได้สูงถึง 3 เมตร มีการแตกแขนงและมีลำต้นสีแดงที่ปกคลุมด้วยเกล็ดและขนสั้น ๆ ใบมีรูปไข่แกมใบหอกที่มีฐานกลมมีความยาวได้ถึง 7 ซม. ลำต้นมีท่อลำเลียงหลักสามท่อยาวตลอดจากฐานถึงปลายยอด ดอกเกิดเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ยาว 2 ถึง 8 ซม. ผลเป็นชนิด[[เบอร์รี่]]ซึ่งเมื่อสุกจะแตกอย่างไม่สม่ำเสมอเผยให้เห็นเนื้อผลสีฟ้าเข้มและเมล็ดสีส้ม<ref>{{ cite book | title=Herbs of Malaysia: An Introduction to the Medicinal, Culinary, Aromatic and Cosmetic Use of Herbs | first=Joseph | last=Samy | date=2005 | publisher=Times Editions | isbn=978-9833001798 | pages=144–145 }}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
[[ไฟล์:Art Plant Melastoma malabathricum.jpg|thumb|200px|left|ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์]]<!-- <ref>ไมร์ทาเลส [http://web.archive.org/web/20071025140756/arc.kru.ac.th/dewey/500/583.html ฐานข้อมูลระบบดิวอี้ : 583 พืชใบเลี้ยงคู่ (Dicotyledons)] [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี]]</ref> -->
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/ สำนักงานหอพรรณไม้. '''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์'''<!-- (Thai Plant Names: Tem Smitinand)--> -- กรุงเทพมหานคร : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2549] {{ลิงก์เสีย}}
* {{Cite book|url=http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87&keyback=%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87|work=สำนักงานหอพรรณไม้|title=ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์|place=กรุงเทพมหานคร|publisher=กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช|edition=2|date=2557|isbn=9786163161734}}
* [http://www.dongdib.com/kp_bot_garden/kpb_17-1.htm สวนพฤกษศาสตร์คลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว. '''โคลงเคลง''' -- กรุงเทพมหานคร : สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี] {{ลิงก์เสีย}}
* {{Cite web|url=http://www.dongdib.com/kp_bot_garden/kpb_17-1.htm|work=สวนพฤกษศาสตร์คลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว|title=โคลงเคลง|place=กรุงเทพมหานคร|publisher=สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี|archive-url=http://web.archive.org/web/20071009034600/http://www.dongdib.com/kp_bot_garden/kpb_17-1.htm|archive-date=2007-10-09}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ก่องกานดา ชยามฤต|ชื่อหนังสือ=ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้|URL=http://www.dnp.go.th/botany/pdf/family_characters1.pdf|จังหวัด=กรุงเทพมหานคร|พิมพ์ที่=กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช|ปี=2548|ISBN=974-415-175-7|หน้า=}}
* {{Cite book|author=ก่องกานดา ชยามฤต|title=ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้|url=http://www.dnp.go.th/botany/pdf/family_characters1.pdf|place=กรุงเทพมหานคร|publisher=กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช|date=2548|isbn=974-415-175-7}}
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{วิกิสปีชีส์|Melastoma malabathricum}}
* [http://www.dnp.go.th/botany/ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช]
*{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Melastoma malabathricum|โคลงเคลง}}
*[http://www.dnp.go.th/botany/ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช]
*[https://web.archive.org/web/20121218180315/http://www.sandakanrfp.sabah.gov.my/medicinal%20plants.htm Sandakan Rainforest Park - Medicinal Plants]



{{Taxonbar|from=Q722767}}


[[หมวดหมู่:ไม้ล้มลุก]]
[[หมวดหมู่:ไม้ล้มลุก]]
บรรทัด 52: บรรทัด 74:
[[หมวดหมู่:สกุลโคลงเคลง]]
[[หมวดหมู่:สกุลโคลงเคลง]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
{{โครงพืช}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:00, 3 มกราคม 2563

โคลงเคลง
(Malabar melastome)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: พืช (Plantae)
หมวด: พืชดอก (Magnoliophyta)
ชั้น: พืชใบเลี้ยงคู่ (Magnoliopsida)
อันดับ: ไมร์ทาเลส (Myrtales)
วงศ์: โคลงเคลง (Melastomataceae)
สกุล: โคลงเคลง (Melastoma)
สปีชีส์: โคลงเคลง (M.  malabathricum)
สปีชีส์ย่อย: โคลงเคลง (M.  m. malabathricum)
ชื่อทวินาม
Melastoma malabathricum
L.
ชื่อพ้อง
  • Melastoma affine D.
  • Melastoma candidum D. Don
  • Melastoma cavaleriei H. Lév. & Vaniot
  • Melastoma esquirolii H. Lév.
  • Melastoma malabathricum var. normale (D. Don) R.C. Srivast.
  • Melastoma malabathricum subsp. normale (D. Don) K.Mey.
  • Melastoma normale D. Don
  • Melastoma polyanthum Blume [1]

โคลงเคลง หรือ สำเหร่ (อังกฤษ: Malabar melastome หรือ Indian rhododendron) เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ ประเภท ไม้ดอกล้มลุกในวงศ์ โคลงเคลง (Melastomataceae) ลักษณะกิ่งสี่เหลี่ยมมักมีขนปกคลุม ใบเป็นใบเดี่ยวคู่ตรงข้าม เรียงแบบสลับน้อย เส้นใบ 3-9 ออกจากจุดเดียวกันตรงฐานใบ แล้วเบนเข้าหาปลายใบ เส้นใบย่อยเรียงแบบขั้นบันได ไม่มีหูใบ ออกดอกเป็นช่อ สมบูรณ์เพศ มีสมมาตรตามรัศมี กลีบเลี้ยง 3-6 (ส่วนใหญ่ 5) กลีบดอก 5 เรียงเกยซ้อนกันในดอกอ่อน เกสรเพศผู้ (ก้านชูอับละอองเรณู) มีประมาณ 10 เกสรเรียงเป็น 2 วงและมีรยางค์ รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ผลเมื่อแก่เปลือกจะแห้ง และแตกออก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เป็นพืชพิ้นเมืองในบริเวณชีวภูมิภาค อินโดมาลายา, ญี่ปุ่น และ ออสเตรเลีย พบได้ทั่วไปในทุ่งหญ้าและป่าโปร่ง ที่ความสูงระหว่าง 100 ถึง 2,800 เมตร[2] มีสรรพคุณเป็นยาพื้นบ้านในหลายพื้นที่ของโลก[3] แก้คอพอก แก้อาเจียนเป็นเลือด และถ่ายเป็นเลือด รากใช้เป็นยา แก้ร้อนในกระหายน้ำ แต่ได้ถูกระบุว่าเป็นวัชพืชที่เป็นภัยคุกคามในสหรัฐอเมริกา[4] โคลงเคลงสามารถสะสมธาตุอลูมิเนียมโดยการดูดซืมทางรากได้มาก จึงสามารถนำมาใช้ในการฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมด้วยพืช[5]

ชื่อท้องถิ่น

  • กะดูดุ (มลายู-ปัตตานี)
  • กาดูโด๊ะ (มลายู-สตูล, ปัตตานี)
  • โคลงเคลงขี้นก, โคลงเคลงขี้หมา (ตราด)
  • ซิซะโพะ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี)
  • ตะลาเด๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
  • เบร์, มะเหร, มังเคร่, มังเร้, สาเร, สำเร (ภาคใต้)
  • มายะ (ชอง-ตราด)
  • อ้า, อ้าหลวง (ภาคเหนือ)

อนุกรมวิธาน

อนุกรมวิธานของสกุล Melastoma ต้องการข้อสรุปของการทบทวน[6] ซึ่งการศึกษาพันธุกรรมในเบื้องต้นได้รับการตีพิมพ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544[7] แต่ยังไม่มีการปรับปรุงแก้ไขจากข้อมูลดังกล่าว[8] ในปีเดียวกัน Karsten Meyer เสนอการแก้ไขให้สปีชีส์ Melastoma affine และสายพันธุ์อื่น ๆ รวมอยู่ในสปีชีส์ M. malabathricum[9]

ในออสเตรเลียปัจจุบันหน่วยงานส่วนใหญ่ไม่ยอมรับข้อเสนอนี้ โดยสายพันธุ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย, นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี, รัฐควีนส์แลนด์ และบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐนิวเซาธ์เวลส์ ยังคงแยกเป็นสปีชีส์ M. affine[10][11] ยกเว้นหน่วยงานในรัฐควีนส์แลนด์[12][13] สายพันธุ์ที่ขึ้นในออสเตรเลียในลักษณะวัชพืชมีรูปแบบดอกหลายแบบ ในทางทิศใต้กว่าการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติของ M. affine ได้รับการยอมรับว่าเป็นสปีชีส์ M. malabathricum L.[14]

ลักษณะ

โคลงเคลง เติบโตบนดินหลากหลายตั้งแต่ระดับน้ำทะเลจนถึงระดับความสูงกว่า 3,000 เมตร เป็นไม้พุ่มตั้งตรงและออกดอกชุก ที่เติบโตได้สูงถึง 3 เมตร มีการแตกแขนงและมีลำต้นสีแดงที่ปกคลุมด้วยเกล็ดและขนสั้น ๆ ใบมีรูปไข่แกมใบหอกที่มีฐานกลมมีความยาวได้ถึง 7 ซม. ลำต้นมีท่อลำเลียงหลักสามท่อยาวตลอดจากฐานถึงปลายยอด ดอกเกิดเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ยาว 2 ถึง 8 ซม. ผลเป็นชนิดเบอร์รี่ซึ่งเมื่อสุกจะแตกอย่างไม่สม่ำเสมอเผยให้เห็นเนื้อผลสีฟ้าเข้มและเมล็ดสีส้ม[15]

อ้างอิง

ไฟล์:Art Plant Melastoma malabathricum.jpg
ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
  1. "Melastoma malabathricum L." the Plant List. 2010.
  2. "Melastoma malabathricum". Flora of China. pp. 364–365.
  3. S. Mohd. Joffry; N. J. Yob; และคณะ. "Melastoma malabathricum (L.) Smith Ethnomedicinal Uses, Chemical Constituents, and Pharmacological Properties: A Review". doi:10.1155/2012/258434.
  4. "Melastoma malabathricum". Germplasm Resources Information Network (GRIN) online database. สืบค้นเมื่อ 12 January 2018.
  5. Toshihiro Watanabe; Seiji Misawa; Mitsuru Osaki (November 2005). "Aluminum accumulation in the roots of Melastoma malabathricum, an aluminum accumulating plant". Canadian Journal of Botany. 83 (11): 1518–1522.
  6. Whiffin, Trevor (1990). "Melastoma". Flora of Australia: Volume 18: Podostemaceae to Combretaceae. Flora of Australia series. CSIRO Publishing / Australian Biological Resources Study. pp. 247–248. ISBN 978-0-644-10472-2. {{cite book}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |contributionurl= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |contributionurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|contribution-url=) (help)
  7. Clausing, G.; Renner, Susanne S. (2001). "Molecular phylogenetics of Melastomataceae and Memecylaceae: implications for character evolution". American Journal of Botany. 88 (3): 486–498. doi:10.2307/2657114. JSTOR 2657114. สืบค้นเมื่อ 19 June 2013. – see also the erratum.
  8. Michelangeli, Fabián A.; Guimaraes, Paulo J. F.; Penneys, Darin S.; และคณะ (2013). "Phylogenetic relationships and distribution of New World Melastomeae (Melastomataceae)". Botanical Journal of the Linnean Society. 171 (1): 38–60. doi:10.1111/j.1095-8339.2012.01295.x. ISSN 1095-8339.
  9. Meyer, Karsten (2001). "Revision of the Southeast Asian genus Melastoma (Melastomataceae)". Blumea. 46 (2): 351–398.
  10. "Vascular Plants". Australian Plant Name Index (APNI), Integrated Botanical Information System (IBIS) database (listing by % wildcard matching of all taxa relevant to Australia). Centre for Plant Biodiversity Research, Australian Government. สืบค้นเมื่อ 18 June 2013.
  11. Wilson, Peter G. (July 2001). "Melastoma affine D.Don – New South Wales Flora Online". PlantNET - The Plant Information Network System. 2.0. Sydney, Australia: The Royal Botanic Gardens and Domain Trust. สืบค้นเมื่อ 18 June 2013.
  12. Hyland, B. P. M.; Whiffin, T.; และคณะ (December 2010). "Factsheet – Melastoma malabathricum subsp. malabathricum". Australian Tropical Rainforest Plants (6.1 [RFK 6.1] ed.). Cairns, Australia: Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation (CSIRO); the Australian Tropical Herbarium, James Cook University. สืบค้นเมื่อ 18 June 2013.
  13. Bostock, P.D.; Holland, A.E., บ.ก. (2010). Census of the Queensland Flora 2010. Brisbane: Queensland Herbarium, Department of Environment and Resource Management. p. 101. สืบค้นเมื่อ 18 June 2013.
  14. Hosking, J. R.; Conn, B. J.; Lepschi, B. J.; Barker, C. H. (2011). "Plant species first recognised as naturalised or naturalising for New South Wales in 2004 and 2005" (PDF). Cunninghamia. 12 (1): 85–114. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 26 April 2014. สืบค้นเมื่อ 18 June 2013.
  15. Samy, Joseph (2005). Herbs of Malaysia: An Introduction to the Medicinal, Culinary, Aromatic and Cosmetic Use of Herbs. Times Editions. pp. 144–145. ISBN 978-9833001798.

แหล่งข้อมูลอื่น