ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหัด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
'''โรคหัด''' ({{lang-en|measles}}) เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่ติดต่อกันได้ง่ายมาก เกิดจากเชื้อ[[Measles virus|ไวรัสหัด]]<ref name=MM2014>{{cite web|title=Measles|work=Merck Manual Professional|publisher=Merck Sharp & Dohme Corp.|date=September 2013|accessdate=23 March 2014|url=http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|editor=Caserta, MT|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140323104756/http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|archivedate=23 March 2014|df=}}</ref><ref>{{cite web|title=Measles (Red Measles, Rubeola)|url=http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|website=Dept of Health, Saskatchewan|accessdate=10 February 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150210111358/http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|archivedate=10 February 2015|df=}}</ref> ในระยะแรกผู้ป่วยจะมี[[ไข้]] ซึ่งมักเป็นไข้สูง (>40 องศาเซลเซียส) [[ไอ]] [[น้ำมูกไหล]]จาก[[เยื่อจมูกอักเสบ]] และ[[ตาแดง]]จาก[[เยื่อตาอักเสบ]]<ref name=MM2014/><ref name=CDC2014SS/> ในวันที่ 2-3 จะเริ่มมีจุดสีขาวขึ้นในปาก เรียกว่า[[Koplik's spots|จุดของคอปลิก]]<ref name=CDC2014SS/> จากนั้นในวันที่ 3-5 จะเริ่มมีผื่นเป็นผื่นแดงแบน เริ่มขึ้นที่ใบหน้า จากนั้นจึงลามไปทั่วตัว<ref name=CDC2014SS>{{cite web|title=Measles (Rubeola) Signs and Symptoms|url=https://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|website=cdc.gov|accessdate=5 February 2015|date=November 3, 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150202192809/http://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|archivedate=2 February 2015|df=}}</ref> อาการมักเริ่มเป็น 10-12 หลังจากรับเชื้อ และมักเป็นอยู่ 7-10 วัน<ref name=WHO2014/><ref name=Conn2014>{{cite book|title=Conn's Current Therapy 2015: Expert Consult – Online|date=2014|publisher=Elsevier Health Sciences|isbn=9780323319560|page=153|url=https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>สามารถพบภาวะแทรกซ้อนได้ราว 30% ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้แก่ [[ท้องร่วง]] [[ตาบอด]] [[สมองอักเสบ]] [[ปอดอักเสบ]] และอื่นๆ<ref name=WHO2014/><ref name=CDC2012Pink/> โรคนี้เป็นคนละโรคกับ[[โรคหัดเยอรมัน]]และ[[Roseola|หัดกุหลาบ]]<ref>{{cite book|last1=Marx|first1=John A.|title=Rosen's emergency medicine : concepts and clinical practice|date=2010|publisher=Mosby/Elsevier|location=Philadelphia|isbn=9780323054720|pages=1541|edition=7th|url=https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>
'''โรคหัด''' ({{lang-en|measles}}) เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่ติดต่อกันได้ง่ายมาก เกิดจากเชื้อ[[Measles virus|ไวรัสหัด]]<ref name=MM2014>{{cite web|title=Measles|work=Merck Manual Professional|publisher=Merck Sharp & Dohme Corp.|date=September 2013|accessdate=23 March 2014|url=http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|editor=Caserta, MT|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20140323104756/http://www.merckmanuals.com/professional/pediatrics/miscellaneous_viral_infections_in_infants_and_children/measles.html|archivedate=23 March 2014|df=}}</ref><ref>{{cite web|title=Measles (Red Measles, Rubeola)|url=http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|website=Dept of Health, Saskatchewan|accessdate=10 February 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150210111358/http://www.health.gov.sk.ca/red-measles|archivedate=10 February 2015|df=}}</ref> ในระยะแรกผู้ป่วยจะมี[[ไข้]] ซึ่งมักเป็นไข้สูง (>40 องศาเซลเซียส) [[ไอ]] [[น้ำมูกไหล]]จาก[[เยื่อจมูกอักเสบ]] และ[[ตาแดง]]จาก[[เยื่อตาอักเสบ]]<ref name=MM2014/><ref name=CDC2014SS/> ในวันที่ 2-3 จะเริ่มมีจุดสีขาวขึ้นในปาก เรียกว่า[[Koplik's spots|จุดของคอปลิก]]<ref name=CDC2014SS/> จากนั้นในวันที่ 3-5 จะเริ่มมีผื่นเป็นผื่นแดงแบน เริ่มขึ้นที่ใบหน้า จากนั้นจึงลามไปทั่วตัว<ref name=CDC2014SS>{{cite web|title=Measles (Rubeola) Signs and Symptoms|url=https://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|website=cdc.gov|accessdate=5 February 2015|date=November 3, 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150202192809/http://www.cdc.gov/measles/about/signs-symptoms.html|archivedate=2 February 2015|df=}}</ref> อาการมักเริ่มเป็น 10-12 หลังจากรับเชื้อ และมักเป็นอยู่ 7-10 วัน<ref name=WHO2014/><ref name=Conn2014>{{cite book|title=Conn's Current Therapy 2015: Expert Consult – Online|date=2014|publisher=Elsevier Health Sciences|isbn=9780323319560|page=153|url=https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=Hv8fBQAAQBAJ&pg=PT189|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>สามารถพบภาวะแทรกซ้อนได้ราว 30% ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้แก่ [[ท้องร่วง]] [[ตาบอด]] [[สมองอักเสบ]] [[ปอดอักเสบ]] และอื่นๆ<ref name=WHO2014/><ref name=CDC2012Pink/> โรคนี้เป็นคนละโรคกับ[[โรคหัดเยอรมัน]]และ[[Roseola|หัดกุหลาบ]]<ref>{{cite book|last1=Marx|first1=John A.|title=Rosen's emergency medicine : concepts and clinical practice|date=2010|publisher=Mosby/Elsevier|location=Philadelphia|isbn=9780323054720|pages=1541|edition=7th|url=https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170908140851/https://books.google.com/books?id=u7TNcpCeqx8C&pg=PA1541|archivedate=2017-09-08|df=}}</ref>


โรคหัด[[Airborne disease|ติดต่อทางอากาศ]] เชื้อหัดจะออกมาพร้อมกับการไอและ[[การจาม]]ของผู้ป่วย นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำลายหรือน้ำมูกของผู้ป่วยได้ด้วย หากมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและอยู่ในที่เดียวกันกับผู้ติดเชื้อ จะเกิดการติดเชื้อถึงเก้าในสิบ ผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ตั้งแต่ 4 วันก่อนมีอาการ ไปจนถึง 4 วัน หลังเริ่มมีผื่น ส่วนใหญ่เมื่อเป็นแล้วจะไม่เป็นอีก การตรวจหาเชื้อไวรัสในผู้ป่วยรายที่สงสัย จะมีประโยชน์ในการควบคุมโรค
โรคหัด[[Airborne disease|ติดต่อทางอากาศ]] เชื้อหัดจะออกมาพร้อมกับการไอและ[[การจาม]]ของผู้ป่วย<ref name=WHO2014/> นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำลายหรือน้ำมูกของผู้ป่วยได้ด้วย<ref name=WHO2014/> หากมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและอยู่ในที่เดียวกันกับผู้ติดเชื้อ จะเกิดการติดเชื้อถึงเก้าในสิบ<ref name=CDC2012Pink/> ผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ตั้งแต่ 4 วันก่อนมีอาการ ไปจนถึง 4 วัน หลังเริ่มมีผื่น.<ref name=CDC2012Pink>{{cite book|last1=Atkinson|first1=William|title=Epidemiology and Prevention of Vaccine-Preventable Diseases|date=2011|publisher=Public Health Foundation|isbn=9780983263135|pages=301–323|edition=12|url=https://www.cdc.gov/vaccines/pubs/pinkbook/meas.html|accessdate=5 February 2015|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150207061223/http://www.cdc.gov/vaccines/pubs/pinkbook/meas.html|archivedate=7 February 2015|df=}}</ref> ส่วนใหญ่เมื่อเป็นแล้วจะไม่เป็นอีก<ref name=WHO2014/> การตรวจหาเชื้อไวรัสในผู้ป่วยรายที่สงสัย จะมีประโยชน์ในการควบคุมโรค<ref name=CDC2012Pink/>


[[วัคซีนโรคหัด]]สามารถป้องกันการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี ผลการจาก[[Vaccination|การใช้วัคซีน]]นี้ทำให้จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคหัดลดลงถึง 75% ในช่วง ค.ศ. 2000-2013 ซึ่งเด็กทั่วโลกถึง 85% ได้รับวัคซีนนี้ ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาแบบจำเพาะ เป็นแต่เพียงการใช้การรักษาบรรเทาอาการเท่านั้น เช่น [[Oral rehydration therapy|การให้สารน้ำชดเชยทางปาก]] กินอาหารที่มีประโยชน์ และใช้[[ยาลดไข้]] อาจต้องใช้[[ยาปฏิชีวนะ]]ก็ต่อเมื่อมี[[การติดเชื้อแบคทีเรีย]]แทรกซ้อน เช่น เป็น[[ปอดอักเสบ]] ใน[[กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา]]ที่ผู้ป่วยอาจ[[ขาดสารอาหาร]] การให้[[วิตามินเอ]]ก็เป็นที่แนะนำ
[[วัคซีนโรคหัด]]สามารถป้องกันการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี<ref name=WHO2014/> ผลจาก[[Vaccination|การใช้วัคซีน]]นี้ทำให้จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคหัดลดลงถึง 75% ในช่วง ค.ศ. 2000-2013 ซึ่งเด็กทั่วโลกถึง 85% ได้รับวัคซีนนี้<ref name=WHO2014/> ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาแบบจำเพาะ มีแต่เพียงการใช้การรักษาบรรเทาอาการเท่านั้น<ref name=WHO2014/> เช่น [[Oral rehydration therapy|การให้สารน้ำชดเชยทางปาก]] กินอาหารที่มีประโยชน์ และใช้[[ยาลดไข้]]<ref name=WHO2014/><ref name=Conn2014/> อาจต้องใช้[[ยาปฏิชีวนะ]]ก็ต่อเมื่อมี[[การติดเชื้อแบคทีเรีย]]แทรกซ้อน เช่น เป็น[[ปอดอักเสบ]]<ref name=WHO2014/> ใน[[กลุ่มประเทศกำลังพัฒนา]]ที่ผู้ป่วยอาจ[[ขาดสารอาหาร]] การให้[[วิตามินเอ]]ก็เป็นที่แนะนำ<ref name=WHO2014>{{cite web|title=Measles Fact sheet N°286|url=http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs286/en/|website=who.int|accessdate=4 February 2015|date=November 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150203144905/http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs286/en/|archivedate=3 February 2015|df=}}</ref>


ในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณ 20 ล้านคน ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่กำลังพัฒนาของทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย โรคนี้เป็น[[โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน]]ที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตจำนวนมากที่สุดในโลก เมื่อ ค.ศ. 1980 มีคนเสียชีวิตจากโรคหัดถึง 2.6 ล้านคน และลดเหลือ 545,000 คนใน ค.ศ. 1990 และ 73,000 ใน ค.ศ. 2014 ผู้ป่วยที่เสียชีวิตส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 5 ปี อัตราการเสียชีวิตโดยรวมอยู่ที่ 0.2% แต่อาจสูงได้ถึง 10% ในผู้ที่ขาดสารอาหาร ปัจจุบันยังเชื่อว่าโรคนี้ไม่ติดไปยังสัตว์อื่น ในประเทศสหรัฐอเมริกาก่อนมีการใช้วัคซีนจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณปีละ 3-4 ล้านคน ซึ่งหลังจากมีการใช้วัคซีนอย่างกว้างขวาง โรคหัดก็ถูกกำจัดหมดไปจากอเมริกาเมื่อ ค.ศ. 2016
ในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณ 20 ล้านคน<ref name=MM2014/> ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่กำลังพัฒนาของทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย<ref name=WHO2014/> โรคนี้เป็น[[โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน]]ที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตจำนวนมากที่สุดในโลก<ref name=Kabra2013>{{cite journal|last1=Kabra|first1=SK|last2=Lodhra|first2=R|title=Antibiotics for preventing complications in children with measles|journal=Cochrane Database of Systematic Reviews|volume=8|issue=|pages=CD001477|date=14 August 2013|pmid=23943263|doi=10.1002/14651858.CD001477.pub4}}</ref> เมื่อ ค.ศ. 1980 มีคนเสียชีวิตจากโรคหัดถึง 2.6 ล้านคน<ref name=WHO2014/> และลดเหลือ 545,000 คนใน ค.ศ. 1990 และ 73,000 ใน ค.ศ. 2014<ref name=GBD2015De/><ref name=GDB2013>{{cite journal|last1=GBD 2013 Mortality and Causes of Death|first1=Collaborators|title=Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990–2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013.|journal=Lancet|date=17 December 2014|pmid=25530442|doi=10.1016/S0140-6736(14)61682-2|pmc=4340604|volume=385|pages=117–171}}</ref> ผู้ป่วยที่เสียชีวิตส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 5 ปี<ref name=WHO2014/> อัตราการเสียชีวิตโดยรวมอยู่ที่ 0.2%<ref name=CDC2012Pink/> แต่อาจสูงได้ถึง 10% ในผู้ที่ขาดสารอาหาร<ref name=WHO2014/> ปัจจุบันยังเชื่อว่าโรคนี้ไม่ติดไปยังสัตว์อื่น<ref name=WHO2014/> ในประเทศสหรัฐอเมริกาก่อนมีการใช้วัคซีนจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณปีละ 3-4 ล้านคน<ref name=CDC2012Pink/> ซึ่งหลังจากมีการใช้วัคซีนอย่างกว้างขวาง โรคหัดก็ถูกกำจัดหมดไปจากอเมริกาเมื่อ ค.ศ. 2016<ref name=PAHO2016>{{cite web|title=Region of the Americas is declared free of measles|url=http://www.paho.org/hq/index.php?option=com_content&view=article&id=12528:region-americas-declared-free-measles&Itemid=1926&lang=en|website=PAHO|accessdate=30 September 2016|date=29 September 2016|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160930044745/http://www.paho.org/hq/index.php?option=com_content&view=article&id=12528%3Aregion-americas-declared-free-measles&Itemid=1926&lang=en|archivedate=30 September 2016|df=}}</ref>


== สาเหตุ ==
== สาเหตุ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:33, 24 มกราคม 2561

Measles
ชื่ออื่นMorbilli, rubeola, red measles, English measles[1][2]
A child showing a four-day measles rash
สาขาวิชาInfectious disease
อาการFever, cough, runny nose, inflamed eyes, rash[3][4]
ภาวะแทรกซ้อนPneumonia, seizures, encephalitis, subacute sclerosing panencephalitis[5]
การตั้งต้น10–12 days post exposure[6][7]
ระยะดำเนินโรค7–10 days[6][7]
สาเหตุMeasles virus[3]
การป้องกันMeasles vaccine[6]
การรักษาSupportive care[6]
ความชุก20 million per year[3]
การเสียชีวิต73,400 (2015)[8]

โรคหัด (อังกฤษ: measles) เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่ติดต่อกันได้ง่ายมาก เกิดจากเชื้อไวรัสหัด[3][9] ในระยะแรกผู้ป่วยจะมีไข้ ซึ่งมักเป็นไข้สูง (>40 องศาเซลเซียส) ไอ น้ำมูกไหลจากเยื่อจมูกอักเสบ และตาแดงจากเยื่อตาอักเสบ[3][4] ในวันที่ 2-3 จะเริ่มมีจุดสีขาวขึ้นในปาก เรียกว่าจุดของคอปลิก[4] จากนั้นในวันที่ 3-5 จะเริ่มมีผื่นเป็นผื่นแดงแบน เริ่มขึ้นที่ใบหน้า จากนั้นจึงลามไปทั่วตัว[4] อาการมักเริ่มเป็น 10-12 หลังจากรับเชื้อ และมักเป็นอยู่ 7-10 วัน[6][7]สามารถพบภาวะแทรกซ้อนได้ราว 30% ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้แก่ ท้องร่วง ตาบอด สมองอักเสบ ปอดอักเสบ และอื่นๆ[6][10] โรคนี้เป็นคนละโรคกับโรคหัดเยอรมันและหัดกุหลาบ[11]

โรคหัดติดต่อทางอากาศ เชื้อหัดจะออกมาพร้อมกับการไอและการจามของผู้ป่วย[6] นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำลายหรือน้ำมูกของผู้ป่วยได้ด้วย[6] หากมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและอยู่ในที่เดียวกันกับผู้ติดเชื้อ จะเกิดการติดเชื้อถึงเก้าในสิบ[10] ผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ตั้งแต่ 4 วันก่อนมีอาการ ไปจนถึง 4 วัน หลังเริ่มมีผื่น.[10] ส่วนใหญ่เมื่อเป็นแล้วจะไม่เป็นอีก[6] การตรวจหาเชื้อไวรัสในผู้ป่วยรายที่สงสัย จะมีประโยชน์ในการควบคุมโรค[10]

วัคซีนโรคหัดสามารถป้องกันการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี[6] ผลจากการใช้วัคซีนนี้ทำให้จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคหัดลดลงถึง 75% ในช่วง ค.ศ. 2000-2013 ซึ่งเด็กทั่วโลกถึง 85% ได้รับวัคซีนนี้[6] ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาแบบจำเพาะ มีแต่เพียงการใช้การรักษาบรรเทาอาการเท่านั้น[6] เช่น การให้สารน้ำชดเชยทางปาก กินอาหารที่มีประโยชน์ และใช้ยาลดไข้[6][7] อาจต้องใช้ยาปฏิชีวนะก็ต่อเมื่อมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน เช่น เป็นปอดอักเสบ[6] ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาที่ผู้ป่วยอาจขาดสารอาหาร การให้วิตามินเอก็เป็นที่แนะนำ[6]

ในแต่ละปีจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณ 20 ล้านคน[3] ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่กำลังพัฒนาของทวีปแอฟริกาและทวีปเอเชีย[6] โรคนี้เป็นโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตจำนวนมากที่สุดในโลก[12] เมื่อ ค.ศ. 1980 มีคนเสียชีวิตจากโรคหัดถึง 2.6 ล้านคน[6] และลดเหลือ 545,000 คนใน ค.ศ. 1990 และ 73,000 ใน ค.ศ. 2014[8][13] ผู้ป่วยที่เสียชีวิตส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 5 ปี[6] อัตราการเสียชีวิตโดยรวมอยู่ที่ 0.2%[10] แต่อาจสูงได้ถึง 10% ในผู้ที่ขาดสารอาหาร[6] ปัจจุบันยังเชื่อว่าโรคนี้ไม่ติดไปยังสัตว์อื่น[6] ในประเทศสหรัฐอเมริกาก่อนมีการใช้วัคซีนจะมีผู้ป่วยโรคหัดประมาณปีละ 3-4 ล้านคน[10] ซึ่งหลังจากมีการใช้วัคซีนอย่างกว้างขวาง โรคหัดก็ถูกกำจัดหมดไปจากอเมริกาเมื่อ ค.ศ. 2016[14]

สาเหตุ

เกิดจากเชื้อไวรัสรูบิโอลา (rubeola virus) ซึ่งจะพบมากในน้ำลายของผู้ป่วยติดต่อโดยการไอ จาม หายใจรดกัน หรือการสัมผัสสิ่งของเครื่องใช้ร่วมกัน ระยะฟักตัว 9-11 วัน

อาการ

มีอาการตัวร้อนขึ้นทันทีทันใด ในระยะแรกมีอาการคล้ายไข้หวัด แต่ผิดกันตรงที่จะมีไข้สูงตลอดเวลา กินยาลดไข้ ไข้ก็ไม่ลด เด็กจะซึม กระสับกระส่าย ร้องกวน เบื่ออาหาร มีน้ำมูกใสๆ ไอแห้งๆ น้ำตาไหล ไม่สู้แสง หนังตาบวม จะมีอาการถ่ายเหลวบ่อยครั้งเหมือนท้องเดินในระยะก่อนที่จะมีผื่น หรืออาจชักจากไข้สูงผื่นของหัดจะขึ้นจากตีนผม ซอกคอก่อน แล้วลามไปตามใบหน้าลำตัวและแขนขา ลักษณะเฉพาะของหัดคือจะมีผื่นขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน มักจะขึ้นในวันที่ 4 ของไข้ เป็นผื่นเท่าหัวเข็มหมุดที่ตีนผมก่อนและซอกคอ ผื่นนี้จะจางหายได้เมื่อดึงรั้งผิวหนังให้ตึง เป็นแผ่นกว้าง รูปร่างไม่แน่นอน อาจมีผื่นคันเล็กน้อย ผื่นจะไม่จางหายไปในทันที จะจางหายไปใน 4-7 วัน และจะเหลือให้เห็นเป็นรอยสีน้ำตาล บางราย

สิ่งตรวจพบ

ไข้ 38.5-40.5 องศาเซลเซียส หรือบางรายอาจสูงกว่านั้นก็เป็นได้ หน้าแดง ตาแดง หน้าตาบวมคู่ เปลือกตาแดง บางรายมีอาการปวดตาเมื่อกลอกตาสุด ระยะ 2 วันหลังมีไข้ พบจุดสีขาวๆ เหลือง หรือ แดงขนาดเล็กๆ คล้ายเม็ดงาที่กระพุ้งแก้มด้านในริเวณใกล้ฟันกรามล่าง หรือ ฟันกรามด้านบนสองซี่สุดท้าย เรียกว่าจุดค็อปลิก (Koplik's spot) ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของหัดและจะหายไป หลังไข้ขึ้น 2-4 วันจะพบผื่นที่หน้า หลังหู ซอกคอ ลำตัว โดยเริ่มขื้นจากด้านบนก่อน ต่อมน้ำเหลืองที่คอด้านซ้ายและขวาบวมขื้น ปอดจะมีเสียงปกติ ยกเว้นถ้ามีโรคปอดอักเสบแทรก เมื่อใช้เครื่องฟังจะได้ยินเสียงกรอบแกรบ (crepitation)

อาการแทรกซ้อน

มักจะพบในเด็กขาดสารอาหารร่างกายอ่อนแอ ที่พบบ่อยคือ ปอดอักเสบ ท้องเดิน ซึ่งมักจะพบหลังผื่นขึ้น หรือไข้เริ่มทุเลาลงแล้ว ที่รุนแรงถึงตายได้ คือ สมองอักเสบ นอกจากนี้ ยังทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลงมีโอกาสเป็นวัณโรคปอดได้ง่ายขึ้น

การรักษา

  1. ปฏิบัติตัวเหมือนไข้หวัด คือ พักผ่อนมากๆ ไม่อาบน้ำเย็น ใช้ผ้าชุบตัวเมื่อมีไข้สูง ดื่มน้ำและน้ำหวานหรือน้ำผลไม้ให้มากๆ
  2. ให้ยารักษาตามอาการ เช่นยาลดไข้ Paracetamol ผู้ใหญ่ ครั้งละ 1-2 เม็ด (500 มิลลิกรัม) เด็กให้ชนิดน้ำเชื่อม (120 มิลลิกรัมต่อช้อนชา ) เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ให้ครั้ง ครึ่งช้อนชา อายุ 1-4 ปี ให้ 1 ช้อนชา
  3. ห้ามใช้ยาปฏิชีวนะ ตั้งแต่ระยะแรกเพราะไม่มีความจำเป็น
  4. ถ้ามีอาการไอมีเสลดข้นหรือเขียว ไอ ปอดมีเสียงกรอบแกรบ (crepitation) หรือเสียงอีด ให้ยา Amoxycillin ผู้ใหญ่ ให้ครั้งละ 250-500 มิลลิกรัม ทุก 8 ชั่วโมง วันละ 3-4 ครั้ง หลังอาหาร และก่อนนอน เด็กให้วันละ 30-50 มิลลิกรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม หรือแบ่งให้ตามน้ำหนักตัว หรือให้ Erythromycin ผู้ใหญ่ให้ครั้งละ 250-500 มิลลิกรัม วันละ 4 ครั้ง เด็ก ให้วันละ 30-50 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง

ข้อแนะนำ

  1. ควรแยกผู้ป่วย ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วย
  2. โรคนี้ส่วนใหญ่จะหายได้เอง พบภาวะแทรกซ้อนเป็นส่วนน้อย
  3. ไม่มีของแสลง กินอาหารที่มีประโยชน์ บำรุง ได้ตามปกติ

การป้องกัน

โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยรับการฉีดวัคซีน เมื่ออายุ 9-12 เดือน ฉีดเพียงครั้งเดียวสามารถป้องกันได้ตลอดไป วัคซีนมีทั้งชนิดเดี่ยว และรวมกับหัดเยอรมันและคางทูม (MMR) ขอรับการฉีดได้ที่สถานีอนามัยใกล้บ้าน หรือโรงพยาบาลทั่วไป

อ้างอิง

  • ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไป : นายแพทย์สุรเกียรติ อาชานุภาพ
  1. Milner, Danny A. (2015). Diagnostic Pathology: Infectious Diseases E-Book (ภาษาอังกฤษ). Elsevier Health Sciences. p. 24. ISBN 9780323400374. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. Stanley, Jacqueline (2002). Essentials of Immunology & Serology (ภาษาอังกฤษ). Cengage Learning. p. 323. ISBN 076681064X. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 Caserta, MT, บ.ก. (September 2013). "Measles". Merck Manual Professional. Merck Sharp & Dohme Corp. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 March 2014. สืบค้นเมื่อ 23 March 2014. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 "Measles (Rubeola) Signs and Symptoms". cdc.gov. November 3, 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2015. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  5. "Pinkbook Measles". www.cdc.gov (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 24 July 2015. สืบค้นเมื่อ 25 November 2017.
  6. 6.00 6.01 6.02 6.03 6.04 6.05 6.06 6.07 6.08 6.09 6.10 6.11 6.12 6.13 6.14 6.15 6.16 6.17 6.18 6.19 "Measles Fact sheet N°286". who.int. November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2015. สืบค้นเมื่อ 4 February 2015. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Conn's Current Therapy 2015: Expert Consult – Online. Elsevier Health Sciences. 2014. p. 153. ISBN 9780323319560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  8. 8.0 8.1 GBD 2015 Mortality and Causes of Death, Collaborators. (8 October 2016). "Global, regional, and national life expectancy, all-cause mortality, and cause-specific mortality for 249 causes of death, 1980–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1459–1544. doi:10.1016/S0140-6736(16)31012-1. PMID 27733281. {{cite journal}}: |first1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  9. "Measles (Red Measles, Rubeola)". Dept of Health, Saskatchewan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2015. สืบค้นเมื่อ 10 February 2015. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 10.4 10.5 Atkinson, William (2011). Epidemiology and Prevention of Vaccine-Preventable Diseases (12 ed.). Public Health Foundation. pp. 301–323. ISBN 9780983263135. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2015. สืบค้นเมื่อ 5 February 2015. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  11. Marx, John A. (2010). Rosen's emergency medicine : concepts and clinical practice (7th ed.). Philadelphia: Mosby/Elsevier. p. 1541. ISBN 9780323054720. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  12. Kabra, SK; Lodhra, R (14 August 2013). "Antibiotics for preventing complications in children with measles". Cochrane Database of Systematic Reviews. 8: CD001477. doi:10.1002/14651858.CD001477.pub4. PMID 23943263.
  13. GBD 2013 Mortality and Causes of Death, Collaborators (17 December 2014). "Global, regional, and national age-sex specific all-cause and cause-specific mortality for 240 causes of death, 1990–2013: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2013". Lancet. 385: 117–171. doi:10.1016/S0140-6736(14)61682-2. PMC 4340604. PMID 25530442. {{cite journal}}: |first1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  14. "Region of the Americas is declared free of measles". PAHO. 29 September 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 September 2016. สืบค้นเมื่อ 30 September 2016. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก