ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาร์ฟาริน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{drugbox |
{{drugbox | Verifiedfields = changed
| Watchedfields = changed
| IUPAC_name = (''RS'')-4-hydroxy- 3-(3- oxo- 1-phenylbutyl)- 2''H''- chromen- 2-one
| verifiedrevid = 460939157
| image = Warfarin.svg
| IUPAC_name = (''RS'')-4-Hydroxy-3-(3-oxo-1-phenylbutyl)- 2''H''-chromen-2-one
| image2 = Warfarin-from-xtal-3D-balls.png
| image = Warfarin2DACS.svg
| CAS_number = 81-81-2
| width = 200
| ChemSpiderID = 10442445
| image2 = Warfarin3Dan.gif
| ATC_prefix = B01
| ATC_suffix = AA03
| width2 = 250

| PubChem = 6691
<!--Clinical data-->
| DrugBank = APRD00341
| tradename = Coumadin, Jantoven, Marevan
| smiles = CC(=O)CC(c1ccccc1)C2=C(O)c3ccccc3OC2=O <!-- Starts at bottom right -->
| Drugs.com = {{drugs.com|monograph|coumadin}}
| C = 19 | H = 16 | O = 4
| MedlinePlus = a682277
| molecular_weight = 308.33 g/mol
| licence_US = Warfarin
| bioavailability = 100%
| protein_bound = 99.5%
| metabolism = Hepatic: [[CYP2C9]], [[CYP2C19|2C19]], 2C8, 2C18, [[CYP1A2|1A2]] and [[CYP3A4|3A4]]
| elimination_half-life = 2.5 days
| excretion = [[ไต|ปัสสาวะ]] (92%)
| pregnancy_AU = D
| pregnancy_AU = D
| pregnancy_US = X
| pregnancy_US = X
| legal_AU = S4
| legal_AU = S4
| legal_CA = Rx-only
| legal_UK = POM
| legal_UK = POM
| legal_US = Rx-only
| legal_US = Rx-only
| routes_of_administration = ปากหรือ[[การฉีดเข้าหลอดเลือดดำ|ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ]]
| routes_of_administration = Oral or [[intravenous therapy|intravenous]]

<!--Pharmacokinetic data-->
| bioavailability = 79-100% (ทางปาก)<ref name = PCK>{{cite journal|title=Clinical Pharmacokinetics and Pharmacodynamics
of Warfarin Understanding the Dose-Effect Relationship|journal=Clinical Pharamacokinetics|date=December 1986|url=http://link.springer.com/article/10.2165%2F00003088-198611060-00005|doi=10.2165/00003088-198611060-00005|publisher=Springer International Publishing|volume=11|issue=6|pages=483-504|pmid=3542339|author=Holford, NH}}</ref>
| protein_bound = 99%<ref name = TGA>{{cite web|title=PRODUCT INFORMATION COUMADIN|work=TGA eBusiness Services|publisher=Aspen Pharma Pty Ltd|date=19 January 2010|accessdate=11 December 2013|url=https://www.ebs.tga.gov.au/ebs/picmi/picmirepository.nsf/pdf?OpenAgent&id=CP-2010-PI-02588-3|format=PDF}}</ref>
| metabolism = ตับ: [[CYP2C9]], [[CYP2C19|2C19]], 2C8, 2C18, [[CYP1A2|1A2]] และ [[CYP3A4|3A4]]<ref name = TGA/>
| elimination_half-life = 20-60 ชั่วโมง (ค่าเฉลี่ย: 40 ชั่วโมง)<ref name = TGA/>
| excretion = [[ไต]] (92%)<ref name = TGA/>

<!--Identifiers-->
| CASNo_Ref = {{cascite|correct|CAS}}
| CAS_number_Ref = {{cascite|correct|??}}I
| CAS_number = 81-81-2
| ATC_prefix = B01
| ATC_suffix = AA03
| PubChem = 54678486
| DrugBank_Ref = {{drugbankcite|changed|drugbank}}
| DrugBank = DB00682
| ChemSpiderID_Ref = {{chemspidercite|correct|chemspider}}
| ChemSpiderID = 10442445
| UNII_Ref = {{fdacite|correct|FDA}}
| UNII = 5Q7ZVV76EI
| KEGG_Ref = {{keggcite|correct|kegg}}
| KEGG = D08682
| ChEBI_Ref = {{ebicite|correct|EBI}}
| ChEBI = 10033
| ChEMBL_Ref = {{ebicite|changed|EBI}}
| ChEMBL = 1464

<!--Chemical data-->
| C=19 | H=16 | O=4
| molecular_weight = 308.33 g/mol
| smiles = CC(=O)CC(C\1=C(/O)c2ccccc2OC/1=O)c3ccccc3
| InChI = 1/C19H16O4/c1-12(20)11-15(13-7-3-2-4-8-13)17-18(21)14-9-5-6-10-16(14)23-19(17)22/h2-10,15,21H,11H2,1H3
| StdInChI_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChI = 1S/C19H16O4/c1-12(20)11-15(13-7-3-2-4-8-13)17-18(21)14-9-5-6-10-16(14)23-19(17)22/h2-10,15,21H,11H2,1H3
| StdInChIKey_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChIKey = PJVWKTKQMONHTI-UHFFFAOYSA-N
}}
}}
'''วาร์ฟาริน''' ({{lang-en|warfarin}}, หรือชื่อการค้า '''คูมาดิน''', '''มารีแวน''', '''ยูนิวาร์ฟิน''') เป็น[[สารกันเลือดเป็นลิ่ม]]ซึ่งปกติใช้ป้องกัน[[ภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด]]และ[[ภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด]] วาร์ฟารินมักเรียกผิด ๆ ว่าเป็น "ยาเจือจางเลือด" (blood thinner) เริ่มใช้ใน ค.ศ. 1948 ทีแรกเป็น[[สารฆ่าสัตว์รังควาน]]ต่อ[[หนู]]และ[[หนูหริ่ง]] และปัจจุบันยังใช้เพื่อความมุ่งหมายนี้ แม้มีการพัฒนาพิษที่แรงกว่าอย่างโบรไดฟาคุม (brodifacoum) นับแต่นั้น ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 พบว่า วาร์ฟารินให้ผลป้องกันภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือดและภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือดในหลายโรคได้และค่อนข้างปลอดภัย ได้รับอนุมัติให้ใช้เป็นยารักษาโรคใน ค.ศ. 1954 และยังได้รับความนิยมนับแต่นั้น วาร์ฟารินเป็นสารกันเลือดเป็นลิ่มชนิดรับประทานที่จ่ายมากที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ


'''วาร์ฟาริน''' ({{lang-en|warfarin}}, หรือชื่อการค้า '''คูมาดิน''', '''มารีแวน''', '''ยูนิวาร์ฟิน''') เป็น[[สารกันเลือดเป็นลิ่ม]]ซึ่งปกติใช้ป้องกัน[[ภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด]]และ[[ภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด]] วาร์ฟารินมักเรียกผิด ๆ ว่าเป็น "ยาเจือจางเลือด" (blood thinner) เริ่มใช้ใน ค.ศ. 1948 ทีแรกเป็น[[สารฆ่าสัตว์รังควาน]]ต่อ[[หนู]]และ[[หนูหริ่ง]] และปัจจุบันยังใช้เพื่อความมุ่งหมายนี้ แม้มีการพัฒนาพิษที่แรงกว่าอย่างโบรไดฟาคุม (brodifacoum) นับแต่นั้น ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 พบว่า วาร์ฟารินให้ผลป้องกันภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือดและภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือดในหลายโรคได้และค่อนข้างปลอดภัย ได้รับอนุมัติให้ใช้เป็นยารักษาโรคใน ค.ศ. 1954 และยังได้รับความนิยมนับแต่นั้น วาร์ฟารินเป็นสารกันเลือดเป็นลิ่มชนิดรับประทานที่จ่ายมากที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ<ref name=Holbrook2005/>
แม้ด้วยประสิทธิผลของมัน แต่การรักษาด้วยวาร์ฟารินมีข้อเสียหลายประการ ยารักษาโรคที่ใช้บ่อยหลายตัวมีอันตรกิริยากับวาร์ฟาริน เช่นเดียวกับอาหารบางชนิด เช่น อาหารผักใบหรือ "เขียว" เนื่องจากผักใบตรงแบบมี[[วิตามินเค|วิตามินเค1]] ปริมาณสูง) และต้องเฝ้าสังเกตกัมมันตภาพของมันโดย[[การตรวจเลือด]]หาอัตราส่วนทำให้เป็นบรรทัดฐานระหว่างประเทศ (international normalized ratio, INR) เพื่อรับประกันว่าได้ขนาดเหมาะสมแต่ปลอดภัย INR ที่สูงโน้มเอียงต่อความเสี่ยงเลือดไหลที่สูง แต่ INR ที่ต่ำกว่าเป้าหมายรักษาโรคได้บ่งชี้ว่าขนาดของวาร์ฟารินไม่เพียงพอป้องกันเหตุการณ์ลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด

แม้ด้วยประสิทธิผลของมัน แต่การรักษาด้วยวาร์ฟารินมีข้อเสียหลายประการ ยารักษาโรคที่ใช้บ่อยหลายตัวมีอันตรกิริยากับวาร์ฟาริน เช่นเดียวกับอาหารบางชนิด เช่น อาหารผักใบหรือ "เขียว" เนื่องจากผักใบตรงแบบมี[[วิตามินเค|วิตามินเค1]] ปริมาณสูง) และต้องเฝ้าสังเกตกัมมันตภาพของมันโดย[[การตรวจเลือด]]หาอัตราส่วนทำให้เป็นบรรทัดฐานระหว่างประเทศ (international normalized ratio, INR) เพื่อรับประกันว่าได้ขนาดเหมาะสมแต่ปลอดภัย<ref name="Ansell">{{cite journal| author=Ansell J, Hirsh J, Hylek E, et al.| title=Pharmacology and management of the vitamin K antagonists: American College of Chest Physicians evidence-based clinical practice guidelines (8th Edition) | journal=Chest | year= 2008 | volume= 133 | issue= 6 Suppl | pages= 160S–198S |pmid=18574265| doi=10.1378/chest.08-0670 | url=http://journal.publications.chestnet.org/article.aspx?articleid=1085927 }}</ref> INR ที่สูงโน้มเอียงต่อความเสี่ยงเลือดไหลที่สูง แต่ INR ที่ต่ำกว่าเป้าหมายรักษาโรคได้บ่งชี้ว่าขนาดของวาร์ฟารินไม่เพียงพอป้องกันเหตุการณ์ลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด


วาร์ฟารินกับโมเลกุลซึ่งมี 4-ไฮดรอกซีคูมาริน (4-hydroxycoumarin) ที่สัมพันธ์ลดเลือดจับลิ่มโดยยับยั้ง[[vitamin K epoxide reductase|วิตามินเคอีพ็อกไซด์รีดักเทส]] (vitamin K epoxide reductase) ซึ่งเป็น[[เอนไซม์]]ซึ่งรีไซเคิลวิตามินเค1 ที่ถูกออกซิไดส์เป็นรูปรีดิวส์ของมันหลังร่วมในปฏิกิริยา[[carboxylation|คาร์บ็อกซิเลชัน]] (carboxylation) ของโปรตีนเลือดจับลิ่มหลายตัว หลัก ๆ คือ [[prothrombin|โปรทรอมบิน]] (prothrombin) และ [[factor VII|แฟ็กเตอร์ 7]] (factor VII) วาร์ฟาริน แม้ถูกระบุว่าเป็นสารต้านวิตามินเค แต่มิได้ต้านฤทธิ์ของวิตามินเค1 แต่ต้านการรีไซเคิลวิตามินเค1 ทำให้วิตามินเค1 กัมมันต์หมดไป ฉะนั้น อาจผันกลับฤทธิ์เภสัชวิทยาได้เสมอโดยวิตามินเค1 เมื่อให้แล้ว ยาเหล่านี้ไม่ต้านเลือดจับลิ่มทันที แต่การเริ่มต้นออกฤทธิ์ใช้เวลาประมาณหนึ่งวันก่อนแฟกเตอร์จับลิ่มกัมมันต์ที่เหลืออยู่มีเวลาหมดไปตามธรรมชาติใน[[เมแทบอลิซึม]] และระยะออกฤทธิ์ของวาร์ฟารินขนาดเดียว คือ 2 ถึง 5 วัน การผันกลับของฤทธิ์วาร์ฟารินเมื่อหยุดให้หรือให้วิตามินเค1 ใช้เวลาพอ ๆ กัน
วาร์ฟารินกับโมเลกุลซึ่งมี 4-ไฮดรอกซีคูมาริน (4-hydroxycoumarin) ที่สัมพันธ์ลดเลือดจับลิ่มโดยยับยั้ง[[vitamin K epoxide reductase|วิตามินเคอีพ็อกไซด์รีดักเทส]] (vitamin K epoxide reductase) ซึ่งเป็น[[เอนไซม์]]ซึ่งรีไซเคิลวิตามินเค1 ที่ถูกออกซิไดส์เป็นรูปรีดิวส์ของมันหลังร่วมในปฏิกิริยา[[carboxylation|คาร์บ็อกซิเลชัน]] (carboxylation) ของโปรตีนเลือดจับลิ่มหลายตัว หลัก ๆ คือ [[prothrombin|โปรทรอมบิน]] (prothrombin) และ [[factor VII|แฟ็กเตอร์ 7]] (factor VII) วาร์ฟาริน แม้ถูกระบุว่าเป็นสารต้านวิตามินเค<ref name="Ansell"/> แต่มิได้ต้านฤทธิ์ของวิตามินเค1 แต่ต้านการรีไซเคิลวิตามินเค1 ทำให้วิตามินเค1 กัมมันต์หมดไป<ref>Holford NH. Clinical pharmacokinetics and pharmacodynamics of warfarin. Understanding the dose-effect relationship. Clin Pharmacokinet 1986; 11: 483–504.</ref> ฉะนั้น อาจผันกลับฤทธิ์เภสัชวิทยาได้เสมอโดยวิตามินเค1 เมื่อให้แล้ว ยาเหล่านี้ไม่ต้านเลือดจับลิ่มทันที แต่การเริ่มต้นออกฤทธิ์ใช้เวลาประมาณหนึ่งวันก่อนแฟกเตอร์จับลิ่มกัมมันต์ที่เหลืออยู่มีเวลาหมดไปตามธรรมชาติใน[[เมแทบอลิซึม]] และระยะออกฤทธิ์ของวาร์ฟารินขนาดเดียว คือ 2 ถึง 5 วัน การผันกลับของฤทธิ์วาร์ฟารินเมื่อหยุดให้หรือให้วิตามินเค1 ใช้เวลาพอ ๆ กัน


วาร์ฟารินเป็นอนุพันธ์ (derivative) สังเคราะห์ของไดคูมารอล (dicoumarol) [[พิษเห็ดรา]]สารกันเลือดเป็นลิ่มที่มาจาก 4-ไฮดรอกซีคูมารินซึ่งแต่เดิมค้นพบในอาหารสัตว์ถั่วหวาน (sweet clover) ที่เน่าเสีย ไดคูมารอลนั้นมาจากคูมารอนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีกลิ่นหวานแต่ไม่มีฤทธิ์เลือดจับลิ่มซึ่งพบตามธรรมชาติในถั่วหวาน (อันเป็นที่มาของกลิ่นและชื่อ) ถั่วทองกา (tonka bean, หรือ "คูมารู" อันเป็นที่มาของชื่อคูมาริน) และพืชอีกหลายชนิด ชื่อ "วาร์ฟาริน" มาจากการค้นพบที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน โดยรวมรัสพจน์ขององค์การซึ่งให้ทุนการวิจัยหลัก "WARF" ย่อมาจากมูลนิธิวิจัยศิษย์เก่าวิสคอนซิน และปิดด้วย "-arin" ซึ่งชี้การโยงกับคูมาริน
วาร์ฟารินเป็นอนุพันธ์ (derivative) สังเคราะห์ของไดคูมารอล (dicoumarol) [[พิษเห็ดรา]]สารกันเลือดเป็นลิ่มที่มาจาก 4-ไฮดรอกซีคูมารินซึ่งแต่เดิมค้นพบในอาหารสัตว์ถั่วหวาน (sweet clover) ที่เน่าเสีย ไดคูมารอลนั้นมาจากคูมารอนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีกลิ่นหวานแต่ไม่มีฤทธิ์เลือดจับลิ่มซึ่งพบตามธรรมชาติในถั่วหวาน (อันเป็นที่มาของกลิ่นและชื่อ) ถั่วทองกา (tonka bean, หรือ "คูมารู" อันเป็นที่มาของชื่อคูมาริน) และพืชอีกหลายชนิด ชื่อ "วาร์ฟาริน" มาจากการค้นพบที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน โดยรวมรัสพจน์ขององค์การซึ่งให้ทุนการวิจัยหลัก "WARF" ย่อมาจากมูลนิธิวิจัยศิษย์เก่าวิสคอนซิน และปิดด้วย "-arin" ซึ่งชี้การโยงกับคูมาริน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:58, 30 ธันวาคม 2557

วาร์ฟาริน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าCoumadin, Jantoven, Marevan
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa682277
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: D
  • US: X (มีอันตราย)
ช่องทางการรับยาปากหรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล79-100% (ทางปาก)[2]
การจับกับโปรตีน99%[1]
การเปลี่ยนแปลงยาตับ: CYP2C9, 2C19, 2C8, 2C18, 1A2 และ 3A4[1]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ20-60 ชั่วโมง (ค่าเฉลี่ย: 40 ชั่วโมง)[1]
การขับออกไต (92%)[1]
ตัวบ่งชี้
  • (RS)-4-Hydroxy-3-(3-oxo-1-phenylbutyl)- 2H-chromen-2-one
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.001.253
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC19H16O4
มวลต่อโมล308.33 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • CC(=O)CC(C\1=C(/O)c2ccccc2OC/1=O)c3ccccc3
  • InChI=1S/C19H16O4/c1-12(20)11-15(13-7-3-2-4-8-13)17-18(21)14-9-5-6-10-16(14)23-19(17)22/h2-10,15,21H,11H2,1H3 checkY
  • Key:PJVWKTKQMONHTI-UHFFFAOYSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

วาร์ฟาริน (อังกฤษ: warfarin, หรือชื่อการค้า คูมาดิน, มารีแวน, ยูนิวาร์ฟิน) เป็นสารกันเลือดเป็นลิ่มซึ่งปกติใช้ป้องกันภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือดและภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด วาร์ฟารินมักเรียกผิด ๆ ว่าเป็น "ยาเจือจางเลือด" (blood thinner) เริ่มใช้ใน ค.ศ. 1948 ทีแรกเป็นสารฆ่าสัตว์รังควานต่อหนูและหนูหริ่ง และปัจจุบันยังใช้เพื่อความมุ่งหมายนี้ แม้มีการพัฒนาพิษที่แรงกว่าอย่างโบรไดฟาคุม (brodifacoum) นับแต่นั้น ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 พบว่า วาร์ฟารินให้ผลป้องกันภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือดและภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือดในหลายโรคได้และค่อนข้างปลอดภัย ได้รับอนุมัติให้ใช้เป็นยารักษาโรคใน ค.ศ. 1954 และยังได้รับความนิยมนับแต่นั้น วาร์ฟารินเป็นสารกันเลือดเป็นลิ่มชนิดรับประทานที่จ่ายมากที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ[3]

แม้ด้วยประสิทธิผลของมัน แต่การรักษาด้วยวาร์ฟารินมีข้อเสียหลายประการ ยารักษาโรคที่ใช้บ่อยหลายตัวมีอันตรกิริยากับวาร์ฟาริน เช่นเดียวกับอาหารบางชนิด เช่น อาหารผักใบหรือ "เขียว" เนื่องจากผักใบตรงแบบมีวิตามินเค1 ปริมาณสูง) และต้องเฝ้าสังเกตกัมมันตภาพของมันโดยการตรวจเลือดหาอัตราส่วนทำให้เป็นบรรทัดฐานระหว่างประเทศ (international normalized ratio, INR) เพื่อรับประกันว่าได้ขนาดเหมาะสมแต่ปลอดภัย[4] INR ที่สูงโน้มเอียงต่อความเสี่ยงเลือดไหลที่สูง แต่ INR ที่ต่ำกว่าเป้าหมายรักษาโรคได้บ่งชี้ว่าขนาดของวาร์ฟารินไม่เพียงพอป้องกันเหตุการณ์ลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด

วาร์ฟารินกับโมเลกุลซึ่งมี 4-ไฮดรอกซีคูมาริน (4-hydroxycoumarin) ที่สัมพันธ์ลดเลือดจับลิ่มโดยยับยั้งวิตามินเคอีพ็อกไซด์รีดักเทส (vitamin K epoxide reductase) ซึ่งเป็นเอนไซม์ซึ่งรีไซเคิลวิตามินเค1 ที่ถูกออกซิไดส์เป็นรูปรีดิวส์ของมันหลังร่วมในปฏิกิริยาคาร์บ็อกซิเลชัน (carboxylation) ของโปรตีนเลือดจับลิ่มหลายตัว หลัก ๆ คือ โปรทรอมบิน (prothrombin) และ แฟ็กเตอร์ 7 (factor VII) วาร์ฟาริน แม้ถูกระบุว่าเป็นสารต้านวิตามินเค[4] แต่มิได้ต้านฤทธิ์ของวิตามินเค1 แต่ต้านการรีไซเคิลวิตามินเค1 ทำให้วิตามินเค1 กัมมันต์หมดไป[5] ฉะนั้น อาจผันกลับฤทธิ์เภสัชวิทยาได้เสมอโดยวิตามินเค1 เมื่อให้แล้ว ยาเหล่านี้ไม่ต้านเลือดจับลิ่มทันที แต่การเริ่มต้นออกฤทธิ์ใช้เวลาประมาณหนึ่งวันก่อนแฟกเตอร์จับลิ่มกัมมันต์ที่เหลืออยู่มีเวลาหมดไปตามธรรมชาติในเมแทบอลิซึม และระยะออกฤทธิ์ของวาร์ฟารินขนาดเดียว คือ 2 ถึง 5 วัน การผันกลับของฤทธิ์วาร์ฟารินเมื่อหยุดให้หรือให้วิตามินเค1 ใช้เวลาพอ ๆ กัน

วาร์ฟารินเป็นอนุพันธ์ (derivative) สังเคราะห์ของไดคูมารอล (dicoumarol) พิษเห็ดราสารกันเลือดเป็นลิ่มที่มาจาก 4-ไฮดรอกซีคูมารินซึ่งแต่เดิมค้นพบในอาหารสัตว์ถั่วหวาน (sweet clover) ที่เน่าเสีย ไดคูมารอลนั้นมาจากคูมารอนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีกลิ่นหวานแต่ไม่มีฤทธิ์เลือดจับลิ่มซึ่งพบตามธรรมชาติในถั่วหวาน (อันเป็นที่มาของกลิ่นและชื่อ) ถั่วทองกา (tonka bean, หรือ "คูมารู" อันเป็นที่มาของชื่อคูมาริน) และพืชอีกหลายชนิด ชื่อ "วาร์ฟาริน" มาจากการค้นพบที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน โดยรวมรัสพจน์ขององค์การซึ่งให้ทุนการวิจัยหลัก "WARF" ย่อมาจากมูลนิธิวิจัยศิษย์เก่าวิสคอนซิน และปิดด้วย "-arin" ซึ่งชี้การโยงกับคูมาริน

ที่ใช้ในทางการแพทย์

มีการใช้วาร์ฟารินเพื่อลดโอกาสการเกิดลิ่มเลือดหรือเพื่อป้องกันการเกิดขึ้นซ้ำของลิ่มเลือดในผู้ที่มีลิ่มเลือดเกิดขึ้นอยู่ก่อนแล้ว (การป้องกันระดับทุติยภูมิ) การรักษาด้วยวาร์ฟารินสามารถลดการเกิดลิ่มเลือดและลดความเสี่ยงของการเกิดภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือดได้ด้วย[6]

ข้อห้ามใช้

สตรีมีครรภ์

วาร์ฟารินเป็นยาที่ห้ามใช้ในผู้ตั้งครรภ์ เนื่องจากเป็นยาที่สามารถผ่านรกไปยังทารกในครรภ์ และอาจทำให้ทารกในครรภ์มีเลือดออกได้ การใช้วาร์ฟารินในผู้ตั้งครรภ์พบว่ามีความสัมพันธ์กับการแท้ง การตายคลอด การตายของทารกแรกเกิด และการคลอดก่อนกำหนด[7] นอกจากนี้ยาในกลุ่มคูมาริน (รวมทั้งวาร์ฟารินด้วย) ยังเป็นสารก่อวิรูป ทำให้ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิดได้ อุบัติการณ์ของการเกิดความผิดปกติแต่กำเนิดในทารกที่ได้รับวาร์ฟารินขณะอยู่ในครรภ์อยู่ที่ประมาณ 5% แต่งานวิจัยบางชิ้นพบว่ามีอุบัติการณ์สูงถึง 30%[8] ความผิดปกติแต่กำเนิดที่พบได้บ่อยในทารกที่ได้รับวาร์ฟารินตั้งแต่ในครรภ์มีอยู่สองแบบ ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่ได้รับยา[7]

หากทารกได้รับวาร์ฟาริน (หรือสารอนุพันธ์ของ 4-hydroxycoumarin อื่นๆ) ในช่วงของการตั้งครรภ์ไตรมาสแรก โดยเฉพาะในช่วงอายุครรภ์ 6-9 สัปดาห์ ทารกอาจมีกลุ่มของความผิดปกติที่เรียกว่า กลุ่มอาการทารกในครรภ์ได้รับยาวาร์ฟาริน (fetal warfaryn syndrome, FWS) ซึ่งมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า warfarin embryopathy (พยาธิสภาพของตัวอ่อนที่เกิดจากวาร์ฟาริน) หรือ coumarin embryopathy (พยาธิสภาพของตัวอ่อนที่เกิดจากคูมาริน)

ผลข้างเคียง

การตกเลือด

ภาวะไม่พึงประสงค์จากยาที่พบบ่อยที่สุดของวาร์ฟารินคือการตกเลือด ความเสี่ยงของการมีเลือดออกรุนแรงนั้นพบได้ไม่บ่อยแต่ได้รับการพิสูจน์ยืนยันแล้ว (มัธยฐานของอัตราการเกิดภาวะไม่พึงประสงค์ต่อปีอยู่ที่ 0.9-2.7%) แพทย์ผู้สั่งยาจะต้องพิจารณาว่าประโยชน์ใดๆ ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้ยาวาร์ฟาริน มีความคุ้มค่ากับความเสี่ยงของการเกิดเลือดออกนี้ จึงจะพิจารณาสั่งยาได้

ประวัติศาสตร์

ช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1920 มีการระบาดของโรคปศุสัตว์อย่างหนึ่งในประเทศแคนาดาและตอนเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกา สัตว์ที่ป่วยจะมีการตกเลือดอย่างมากหลังมีบาดแผลเล็กน้อย หรือบางครั้งตกเลือดเองโดยไม่มีบาดแผลใดๆ รายงานหนึ่งพบว่ามีวัว 21 ใน 22 ตัว ตกเลือดจนเสียชีวิตหลังการตัดเขา และวัวกระทิง 12 ใน 25 ตัว ตกเลือดจนเสียชีวิตหลังถูกตอน

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "PRODUCT INFORMATION COUMADIN" (PDF). TGA eBusiness Services. Aspen Pharma Pty Ltd. 19 January 2010. สืบค้นเมื่อ 11 December 2013.
  2. Holford, NH (December 1986). "Clinical Pharmacokinetics and Pharmacodynamics of Warfarin Understanding the Dose-Effect Relationship". Clinical Pharamacokinetics. Springer International Publishing. 11 (6): 483–504. doi:10.2165/00003088-198611060-00005. PMID 3542339. {{cite journal}}: line feed character ใน |title= ที่ตำแหน่ง 48 (help)
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Holbrook2005
  4. 4.0 4.1 Ansell J, Hirsh J, Hylek E; และคณะ (2008). "Pharmacology and management of the vitamin K antagonists: American College of Chest Physicians evidence-based clinical practice guidelines (8th Edition)". Chest. 133 (6 Suppl): 160S–198S. doi:10.1378/chest.08-0670. PMID 18574265. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. Holford NH. Clinical pharmacokinetics and pharmacodynamics of warfarin. Understanding the dose-effect relationship. Clin Pharmacokinet 1986; 11: 483–504.
  6. "coumadin". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 3 April 2011.
  7. 7.0 7.1 Macina, Orest T.; Schardein, James L. (2007). "Warfarin". Human Developmental Toxicants. Boca Raton: CRC Taylor & Francis. pp. 193–4. ISBN 0-8493-7229-1.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) Retrieved on 15 December 2008 through Google Book Search.
  8. Loftus, Christopher M. (1995). "Fetal toxicity of common neurosurgical drugs". Neurosurgical Aspects of Pregnancy. Park Ridge, Ill: American Association of Neurological Surgeons. pp. 11–3. ISBN 1-879284-36-7.

แหล่งข้อมูลอื่น


แม่แบบ:Link GA