ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคอัลไซเมอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 170: บรรทัด 170:
| pmid = 9543467
| pmid = 9543467
}}</ref>
}}</ref>

== ลักษณะของโรค ==
ลำดับการดำเนินโรคอัลไซเมอร์แบ่งออกเป็น 4 ระยะ โดยมีลักษณะของ[[ความบกพร่อง]]ของหน้าที่และการรับรู้ที่แย่ลงเรื่อยๆ

=== ระยะก่อนสมองเสื่อม ===
ในระยะก่อนสมองเสื่อม (Predementia) อาการแรกสุดมักจะเข้าในผิดว่าเกิดขึ้นเองจากความชรา หรือเกิดจาก[[ความเครียด|ภาวะเครียด]]<ref name="pmid17222085"/> การทดสอบทาง[[ประสาทจิตวิทยา]]แสดงความบกพร่องทางการรับรู้เล็กน้อยซึ่งกินเวลาถึง 8 ปีกว่าที่ผู้ป่วยจะมีลักษณะครบตามเกณฑ์[[การวินิจฉัย]]โรคอัลไซเมอร์<ref>Preclinical:
* {{cite journal
| author = Linn RT, Wolf PA, Bachman DL, ''et al''
| title = The 'preclinical phase' of probable Alzheimer's disease. A 13-year prospective study of the Framingham cohort
| journal = Arch. Neurol.
| volume = 52
| issue = 5
| pages = 485–90
| year = 1995
| month = May
| pmid = 7733843
| accessdate = 2008-08-04
}}
* {{cite journal
| author = Saxton J, Lopez OL, Ratcliff G, ''et al''
| title = Preclinical Alzheimer disease: neuropsychological test performance 1.5 to 8 years prior to onset
| journal = Neurology
| volume = 63
| issue = 12
| pages = 2341–7
| year = 2004
| month = December
| pmid = 15623697
}}
* {{cite journal
| author = Twamley EW, Ropacki SA, Bondi MW
| title = Neuropsychological and neuroimaging changes in preclinical Alzheimer's disease
| journal = J Int Neuropsychol Soc
| volume = 12
| issue = 5
| pages = 707–35
| year = 2006
| month = September
| pmid = 16961952
| pmc = 1621044
| doi = 10.1017/S1355617706060863
}}</ref> อาการเริ่มแรกจะมีผลกระทบต่อ[[ชีวิตประจำวัน]]ที่ซับซ้อนส่วนใหญ่<ref name="pmid16513677">{{cite journal
| author = Perneczky R, Pohl C, Sorg C, Hartmann J, Komossa K, Alexopoulos P, Wagenpfeil S, Kurz A
| title = Complex activities of daily living in mild cognitive impairment: conceptual and diagnostic issues
| journal = Age Ageing
| volume = 35
| issue = 3
| pages = 240–245
| year = 2006
| pmid = 16513677
| doi = 10.1093/ageing/afj054
}}</ref> ความบกพร่องที่เห็นชัดคือการสูญเสียความจำ คือพยายามจำข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้<ref name="pmid12603249">{{cite journal
| author = Arnáiz E, Almkvist O
| title = Neuropsychological features of mild cognitive impairment and preclinical Alzheimer's disease
| journal = Acta Neurol. Scand., Suppl.
| volume = 179
| pages = 34–41
| year = 2003
| pmid = 12603249
| doi = 10.1034/j.1600-0404.107.s179.7.x
| accessdate = 2008-06-12
}}</ref><ref name="pmid15785034">{{cite journal
| author = Kazui H, Matsuda A, Hirono N, ''et al''
| title = Everyday memory impairment of patients with mild cognitive impairment
| journal = Dement Geriatr Cogn Disord
| volume = 19
| issue = 5–6
| pages = 331–7
| year = 2005
| pmid = 15785034
| doi = 10.1159/000084559
| url = http://content.karger.com/produktedb/produkte.asp?typ=fulltext&file=DEM20050195_6331
| accessdate = 2008-06-12
}}</ref> ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่การบริหารจัดการ อาทิ[[ความใส่ใจ]]ต่อสิ่งหนึ่งๆ [[การวางแผน]], [[ความยืดหยุ่น]] และความคิดเชิง[[นามธรรม]] หรือความบกพร่องของ[[ความจำเชิงอรรถศาสตร์]] (การจำความหมายและความสัมพันธ์เชิงแนวคิด เช่น ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แอปเปิลมีสีแดง เป็นต้น) อาจปรากฏอาการได้ในโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก<ref name="pmid15703322">
{{cite journal
| author = Rapp MA, Reischies FM
| title = Attention and executive control predict Alzheimer disease in late life: results from the Berlin Aging Study (BASE)
| journal = American Journal of Geriatric Psychiatry
| volume = 13
| issue = 2
| pages = 134–141
| year = 2005
| pmid = 15703322
| doi = 10.1176/appi.ajgp.13.2.134
}}
</ref><ref name="pmid12754679">
{{cite journal
| author = Spaan PE, Raaijmakers JG, Jonker C
| title = Alzheimer's disease versus normal ageing: a review of the efficiency of clinical and experimental memory measures
| journal = Journal of Clinical Experimental Neuropsychology
| volume = 25
| issue = 2
| pages = 216–233
| year = 2003
| pmid = 12754679
}}
</ref> อาจพบ[[ภาวะไร้อารมณ์]] (apathy) ได้ในระยะนี้และจะเป็นอาการที่คงปรากฏอยู่ตลอดทุกระยะเวลาการดำเนินโรค<ref name="pmid15956265">{{cite journal
| author = Craig D, Mirakhur A, Hart DJ, McIlroy SP, Passmore AP
| title = A cross-sectional study of neuropsychiatric symptoms in 435 patients with Alzheimer's disease |journal=American Journal of Geriatric Psychiatry
| volume = 13
| issue = 6
| pages = 460–468
| year = 2005
| pmid = 15956265
| doi = 10.1176/appi.ajgp.13.6.460
}}</ref><ref name="pmid16567037">{{cite journal
| author = Robert PH, Berr C, Volteau M, Bertogliati C, Benoit M, Sarazin M, Legrain S, Dubois B
| title = Apathy in patients with mild cognitive impairment and the risk of developing dementia of Alzheimer's disease: a one-year follow-up study
| journal = Clin Neurol Neurosurg
| volume = 108
| issue = 8
| pages = 733–736
| year = 2006
| pmid = 16567037
| doi = 10.1016/j.clineuro.2006.02.003
}}</ref><ref name="pmid17485646">
{{cite journal
| author = Palmer K, Berger AK, Monastero R, Winblad B, Bäckman L, Fratiglioni L
| title = Predictors of progression from mild cognitive impairment to Alzheimer disease
| journal = Neurology
| volume = 68
| issue = 19
| pages = 1596–1602
| year = 2007
| pmid = 17485646
| doi = 10.1212/01.wnl.0000260968.92345.3f
}}</ref> ในระยะก่อนแสดงอาการทางคลินิกนี้อาจเรียกอีกอย่างว่า ''[[ความบกพร่องทางการรับรู้เล็กน้อย]]'' (mild cognitive impairment) <ref name="pmid17408315">
{{cite journal
| author = Small BJ, Gagnon E, Robinson B
| title = Early identification of cognitive deficits: preclinical Alzheimer's disease and mild cognitive impairment
| journal = Geriatrics
| volume = 62
| issue = 4
| pages = 19–23
| year = 2007
| month = April
| pmid = 17408315
}}</ref> แต่ก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันว่าชื่อดังกล่าวเป็นโรคหนึ่งซึ่งได้รับการวินิจฉัยต่างหากหรือเป็นเพียงระยะแรกของโรคอัลไซเมอร์<ref name="pmid17279076">
{{cite journal
| author = Petersen RC
| title = The current status of mild cognitive impairment—what do we tell our patients?
| journal = Nat Clin Pract Neurol
| volume = 3
| issue = 2
| pages = 60–1
| year = 2007
| month = February
| pmid = 17279076
| doi = 10.1038/ncpneuro0402
}}</ref>

=== สมองเสื่อมระยะแรก ===
ระยะสมองเสื่อมระยะแรก (early dementia) ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความบกพร่องของความจำและการเรียนรู้จนสามารถวินิจฉัยอย่างแน่นอนได้ ผู้ป่วยบางส่วนมีอาการบกพร่องทางภาษา การบริหาร การกำหนดรู้ ([[ภาวะเสียการระลึกรู้]] (agnosia)) หรือการจัดการเคลื่อนไหว ([[ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ]] (apraxia)) เด่นกว่าการสูญเสียความทรงจำ<ref name="pmid10653284">
{{cite journal
| author = Förstl H, Kurz A
| title = Clinical features of Alzheimer's disease
| journal = European Archives of Psychiatry and Clinical Neuroscience
| volume = 249
| issue = 6
| pages = 288–290
| year = 1999
| pmid = 10653284
}}</ref> โรคอัลไซเมอร์ไม่ได้มีผลกระทบต่อความจำทั้งหมดเท่าๆ กัน แต่[[ความทรงจำระยะยาว]]ที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วย ([[ความจำเชิงเหตุการณ์]] (episodic memory)) ความรู้ทั่วไป ([[ความจำเชิงอรรถศาสตร์]] (semantic memory)) และ[[ความจำโดยปริยาย]] (implicit memory; ความจำของร่างกายว่าทำสิ่งต่างๆ อย่างไร เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหาร) ทั้งสามอย่างนี้จะได้รับผลกระทบน้อยกว่าความจำหรือความรู้ใหม่<ref name="pmid1300219">
{{cite journal
| author = Carlesimo GA, Oscar-Berman M
| title = Memory deficits in Alzheimer's patients: a comprehensive review
| journal = Neuropsychol Rev
| volume = 3
| issue = 2
| pages = 119–69
| year = 1992
| month = June
| pmid = 1300219
}}</ref><ref name="pmid8821346">
{{cite journal
| author = Jelicic M, Bonebakker AE, Bonke B
| title = Implicit memory performance of patients with Alzheimer's disease: a brief review
| journal = International Psychogeriatrics
| volume = 7
| issue = 3
| pages = 385–392
| year = 1995
| pmid = 8821346
| doi = 10.1017/S1041610295002134
}}</ref> ปัญหาทางภาษามีลักษณะเด่นคือการรวบคำให้สั้นและพูดหรือใช้ศัพท์ไม่ฉะฉานหรือคล่องเหมือนเดิม ซึ่งทำให้พูดหรือเขียนภาษาได้น้อยลง ในระยะนี้ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้<ref name="pmid7967534">{{cite journal
| author = Frank EM
| title = Effect of Alzheimer's disease on communication function
| journal = J S C Med Assoc
| volume = 90
| issue = 9
| pages = 417–23
| year = 1994
| month = September
| pmid = 7967534
}}</ref><ref name="pmid12402233">{{cite journal
| author = Becker JT, Overman AA
| title = [The semantic memory deficit in Alzheimer's disease]
| language = Spanish; Castilian
| journal = Rev Neurol
| volume = 35
| issue = 8
| pages = 777–83
| year = 2002
| pmid = 12402233
}}</ref><ref name="pmid7617154">{{cite journal
| author = Hodges JR, Patterson K
| title = Is semantic memory consistently impaired early in the course of Alzheimer's disease? Neuroanatomical and diagnostic implications
| journal = Neuropsychologia
| volume = 33
| issue = 4
| pages = 441–59
| year = 1995
| month = April
| pmid = 7617154
}}</ref> เมื่อผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวโดยละเอียด เช่น การเขียน การวาดภาพ หรือการแต่งตัว อาจพบความบกพร่องของการประสานการเคลื่อนไหวและการวางแผน (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ) ทำให้ผู้ป่วยดูเงอะงะหรือซุ่มซ่าม<ref name="pmid8124945">{{cite journal
| author = Benke T
| title = Two forms of apraxia in Alzheimer's disease
| journal = Cortex
| volume = 29
| issue = 4
| pages = 715–25
| year = 1993
| month = December
| pmid = 8124945
}}</ref> เมื่อโรคดำเนินต่อไปผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์มักสามารถทำงานหลายอย่างได้ด้วยตัวเองแต่อาจต้องอาศัยผู้ช่วยหรือผู้ดูแลในกิจกรรมที่ต้องอาศัยกระบวนการคิดหรือการรับรู้อย่างมาก<ref name="pmid10653284"/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:12, 14 กุมภาพันธ์ 2552

โรคอัลไซเมอร์
(Alzheimer's disease)
แผนภาพเปรียบเทียบระหว่างสมองของผู้สูงอายุปกติ (ซ้าย) และสมองผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ (ขวา)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10G30, F00
ICD-9331.0, 290.1
OMIM104300
DiseasesDB490
MedlinePlus000760
eMedicineneuro/13
MeSHD000544

โรคอัลไซเมอร์ (อังกฤษ: Alzheimer disease; AD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลไซเมอร์ (Alois Alzheimer) โรคนี้จัดเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่หายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท้าย โดยทั่วไปแล้วสามารถวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ได้ในผู้ป่วยอายุมากกว่า 65 ปี[1] แต่ก็พบโรคอัลไซเมอร์ชนิดหนึ่งคือ โรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็ว (early-onset Alzheimer's) ซึ่งเกิดในคนอายุน้อยแต่มีความชุกน้อยกว่า ประมาณการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2549 มีประชากรราว 26.6 ล้านคนทั่วโลกที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ และจะเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่าใน พ.ศ. 2593[2]

ถึงแม้ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์แต่ละคนจะมีอาการแตกต่างกันออกไป แต่ก็มีอาการที่พบร่วมกันหลายประการ[3] อาการแรกสุดที่พบคือความเครียด ซึ่งมักจะเข้าใจผิดว่าเป็นอาการที่เกิดขึ้นเองตามอายุ[4] อาการที่พบในระยะแรกคือการสูญเสียความจำ เช่นพยายามจำข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้ เมื่อแพทย์สงสัยว่าผู้ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์จะยืนยันการวินิจฉัยโดยการประเมินพฤติกรรมและทดสอบการรับรู้ และมักตามด้วยการสแกนสมอง[5] เมื่อโรคดำเนินไประยะหนึ่งผู้ป่วยจะมีอาการสับสน หงุดหงิดง่ายและก้าวร้าว อารมณ์แปรปรวน เสียความสามารถทางภาษา สูญเสียความทรงจำระยะยาว และเพิกเฉยต่อสิ่งต่างๆ เนื่องจากผู้ป่วยเสียการรับความรู้สึก[4][6] และต่อมาจะสูญเสียการทำงานต่างๆ ของร่างกาย และเสียชีวิตในที่สุด[7] การพยากรณ์โรคในผู้ป่วยแต่ละรายนั้นทำได้ยากเนื่องจากระยะเวลาของโรคมีความหลากหลาย การดำเนินโรคของโรคนี้จะมีช่วงระยะเวลาที่ไม่แสดงอาการแน่ชัดก่อนจะปรากฏอาการชัดเจน การคาดหมายคงชีพหลังได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคอัลไซเมอร์โดยเฉลี่ยอยู่ประมาณ 7 ปี[8] มีผู้ป่วยน้อยกว่าร้อยละ 3 ที่มีชีวิตอยู่ได้มากกว่า 14 ปีหลังได้รับการวินิจฉัย[9]

สาเหตุและการดำเนินโรคของโรคอัลไซเมอร์ยังไม่เป็นที่เข้าใจดีนักในปัจจุบัน งานวิจัยบ่งชี้ว่าโรคนี้มีความสัมพันธ์กับโครงสร้างคล้ายคราบในสมองที่เรียกว่า พลาก (plaque) และแทงเกิล (tangle) [10] การรักษาในปัจจุบันช่วยเกี่ยวกับอาการของโรคเพียงเล็กน้อย แต่ยังไม่มีการรักษาที่ช่วยชะลอหรือหยุดการดำเนินโรคอย่างแท้จริง ในปี พ.ศ. 2551 มีการทดลองทางคลินิกมากกว่า 500 งานวิจัยเพื่อทดสอบความเป็นไปได้ในการรักษาโรคอัลไซเมอร์แต่ก็ยังไม่มีงานวิจัยใดที่สรุปว่าประสบความสำเร็จ[11] แม้มีวิธีต่างๆ มากมายที่เชื่อว่าป้องกันโรคอัลไซเมอร์แต่ก็ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ว่าช่วยชะลอการดำเนินโรคและลดความรุนแรงของโรคได้ แต่แนวทางแนะนำที่เชื่อว่าจะช่วยป้องกันและจัดการโรคได้นั้นคือการกระตุ้นทางจิตใจ (Mental stimulation) การออกกำลังกาย และรับประทานอาหารครบทุกหมู่[12]

เนื่องจากโรคอัลไซเมอร์เป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่หาย การจัดการผู้ป่วยจึงนับเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง โดยเฉพาะบทบาทของผู้ดูแลซึ่งมักจะเป็นคู่สมรสหรือญาติใกล้ชิด[13] เป็นที่รับรู้ว่าโรคอัลไซเมอร์นั้นสร้างภาระให้แก่ผู้ดูแลอย่างมาก ทั้งในทางกายสังคม ทางจิต ทางสังคมและเศรษฐกิจ[14][15][16] ในประเทศกำลังพัฒนาโรคนี้นับเป็นหนึ่งในโรคที่ก่อค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจต่อสังคมมากที่สุด[17][18]

ลักษณะของโรค

ลำดับการดำเนินโรคอัลไซเมอร์แบ่งออกเป็น 4 ระยะ โดยมีลักษณะของความบกพร่องของหน้าที่และการรับรู้ที่แย่ลงเรื่อยๆ

ระยะก่อนสมองเสื่อม

ในระยะก่อนสมองเสื่อม (Predementia) อาการแรกสุดมักจะเข้าในผิดว่าเกิดขึ้นเองจากความชรา หรือเกิดจากภาวะเครียด[4] การทดสอบทางประสาทจิตวิทยาแสดงความบกพร่องทางการรับรู้เล็กน้อยซึ่งกินเวลาถึง 8 ปีกว่าที่ผู้ป่วยจะมีลักษณะครบตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์[19] อาการเริ่มแรกจะมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวันที่ซับซ้อนส่วนใหญ่[20] ความบกพร่องที่เห็นชัดคือการสูญเสียความจำ คือพยายามจำข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้[21][22] ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่การบริหารจัดการ อาทิความใส่ใจต่อสิ่งหนึ่งๆ การวางแผน, ความยืดหยุ่น และความคิดเชิงนามธรรม หรือความบกพร่องของความจำเชิงอรรถศาสตร์ (การจำความหมายและความสัมพันธ์เชิงแนวคิด เช่น ปลาวาฬเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แอปเปิลมีสีแดง เป็นต้น) อาจปรากฏอาการได้ในโรคอัลไซเมอร์ระยะแรก[23][24] อาจพบภาวะไร้อารมณ์ (apathy) ได้ในระยะนี้และจะเป็นอาการที่คงปรากฏอยู่ตลอดทุกระยะเวลาการดำเนินโรค[25][26][27] ในระยะก่อนแสดงอาการทางคลินิกนี้อาจเรียกอีกอย่างว่า ความบกพร่องทางการรับรู้เล็กน้อย (mild cognitive impairment) [28] แต่ก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันว่าชื่อดังกล่าวเป็นโรคหนึ่งซึ่งได้รับการวินิจฉัยต่างหากหรือเป็นเพียงระยะแรกของโรคอัลไซเมอร์[29]

สมองเสื่อมระยะแรก

ระยะสมองเสื่อมระยะแรก (early dementia) ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความบกพร่องของความจำและการเรียนรู้จนสามารถวินิจฉัยอย่างแน่นอนได้ ผู้ป่วยบางส่วนมีอาการบกพร่องทางภาษา การบริหาร การกำหนดรู้ (ภาวะเสียการระลึกรู้ (agnosia)) หรือการจัดการเคลื่อนไหว (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ (apraxia)) เด่นกว่าการสูญเสียความทรงจำ[30] โรคอัลไซเมอร์ไม่ได้มีผลกระทบต่อความจำทั้งหมดเท่าๆ กัน แต่ความทรงจำระยะยาวที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วย (ความจำเชิงเหตุการณ์ (episodic memory)) ความรู้ทั่วไป (ความจำเชิงอรรถศาสตร์ (semantic memory)) และความจำโดยปริยาย (implicit memory; ความจำของร่างกายว่าทำสิ่งต่างๆ อย่างไร เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหาร) ทั้งสามอย่างนี้จะได้รับผลกระทบน้อยกว่าความจำหรือความรู้ใหม่[31][32] ปัญหาทางภาษามีลักษณะเด่นคือการรวบคำให้สั้นและพูดหรือใช้ศัพท์ไม่ฉะฉานหรือคล่องเหมือนเดิม ซึ่งทำให้พูดหรือเขียนภาษาได้น้อยลง ในระยะนี้ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้[33][34][35] เมื่อผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวโดยละเอียด เช่น การเขียน การวาดภาพ หรือการแต่งตัว อาจพบความบกพร่องของการประสานการเคลื่อนไหวและการวางแผน (ภาวะเสียการรู้ปฏิบัติ) ทำให้ผู้ป่วยดูเงอะงะหรือซุ่มซ่าม[36] เมื่อโรคดำเนินต่อไปผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์มักสามารถทำงานหลายอย่างได้ด้วยตัวเองแต่อาจต้องอาศัยผู้ช่วยหรือผู้ดูแลในกิจกรรมที่ต้องอาศัยกระบวนการคิดหรือการรับรู้อย่างมาก[30]

  1. Brookmeyer R, Gray S, Kawas C (1998). "Projections of Alzheimer's disease in the United States and the public health impact of delaying disease onset". Am J Public Health. 88 (9): 1337–42. PMC 1509089. PMID 9736873. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Brookmeyer2007
  3. "What is Alzheimer's disease?". Alzheimers.org.uk. 2007. สืบค้นเมื่อ 2008-02-21. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  4. 4.0 4.1 4.2 Waldemar G, Dubois B, Emre M; และคณะ (2007). "Recommendations for the diagnosis and management of Alzheimer's disease and other disorders associated with dementia: EFNS guideline". Eur. J. Neurol. 14 (1): e1–26. doi:10.1111/j.1468-1331.2006.01605.x. PMID 17222085. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. "Alzheimer's diagnosis of AD". Alzheimer's Research Trust. สืบค้นเมื่อ 2008-02-29.
  6. Tabert MH, Liu X, Doty RL, Serby M, Zamora D, Pelton GH, Marder K, Albers MW, Stern Y, Devanand DP (2005). "A 10-item smell identification scale related to risk for Alzheimer's disease". Ann. Neurol. 58 (1): 155–160. doi:10.1002/ana.20533. PMID 15984022.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  7. "Understanding stages and symptoms of Alzheimer's disease". National Institute on Aging. 2007-10-26. สืบค้นเมื่อ 2008-02-21.
  8. Mölsä PK, Marttila RJ, Rinne UK (1986). "Survival and cause of death in Alzheimer's disease and multi-infarct dementia". Acta Neurol. Scand. 74 (2): 103–7. PMID 3776457. {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  9. Mölsä PK, Marttila RJ, Rinne UK (1995). "Long-term survival and predictors of mortality in Alzheimer's disease and multi-infarct dementia". Acta Neurol. Scand. 91 (3): 159–64. PMID 7793228. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ pmid15184601
  11. "Alzheimer's Disease Clinical Trials". US National Institutes of Health. สืบค้นเมื่อ 2008-08-18.
  12. "Can Alzheimer's disease be prevented" (pdf). National Institute on Aging. 2006-08-29. สืบค้นเมื่อ 2008-02-29.
  13. "The MetLife study of Alzheimer's disease: The caregiving experience" (PDF). MetLife Mature Market Institute. 2006. สืบค้นเมื่อ 2008-02-12. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  14. Thompson CA, Spilsbury K, Hall J, Birks Y, Barnes C, Adamson J (2007). "Systematic review of information and support interventions for caregivers of people with dementia". BMC Geriatr. 7: 18. doi:10.1186/1471-2318-7-18. PMC 1951962. PMID 17662119.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  15. Schneider J, Murray J, Banerjee S, Mann A (1999). "EUROCARE: a cross-national study of co-resident spouse carers for people with Alzheimer's disease: I—Factors associated with carer burden". International Journal of Geriatric Psychiatry. 14 (8): 651–661. doi:10.1002/(SICI) 1099-1166 (199908) 14:8<651::AID-GPS992>3.0.CO;2-B. PMID 10489656. {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); ตรวจสอบค่า |doi= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  16. Murray J, Schneider J, Banerjee S, Mann A (1999). "EUROCARE: a cross-national study of co-resident spouse carers for people with Alzheimer's disease: II--A qualitative analysis of the experience of caregiving". International Journal of Geriatric Psychiatry. 14 (8): 662–667. doi:10.1002/(SICI) 1099-1166 (199908) 14:8<662::AID-GPS993>3.0.CO;2-4. PMID 10489657. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่า |doi= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  17. Bonin-Guillaume S, Zekry D, Giacobini E, Gold G, Michel JP (2005). "Impact économique de la démence (English: The economical impact of dementia)". Presse Med (ภาษาFrench). 34 (1): 35–41. ISSN 0755-4982. PMID 15685097. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  18. Meek PD, McKeithan K, Schumock GT (1998). "Economic considerations in Alzheimer's disease". Pharmacotherapy. 18 (2 Pt 2): 68–73, discussion 79–82. PMID 9543467.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  19. Preclinical:
    • Linn RT, Wolf PA, Bachman DL; และคณะ (1995). "The 'preclinical phase' of probable Alzheimer's disease. A 13-year prospective study of the Framingham cohort". Arch. Neurol. 52 (5): 485–90. PMID 7733843. {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help); ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
    • Saxton J, Lopez OL, Ratcliff G; และคณะ (2004). "Preclinical Alzheimer disease: neuropsychological test performance 1.5 to 8 years prior to onset". Neurology. 63 (12): 2341–7. PMID 15623697. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
    • Twamley EW, Ropacki SA, Bondi MW (2006). "Neuropsychological and neuroimaging changes in preclinical Alzheimer's disease". J Int Neuropsychol Soc. 12 (5): 707–35. doi:10.1017/S1355617706060863. PMC 1621044. PMID 16961952. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  20. Perneczky R, Pohl C, Sorg C, Hartmann J, Komossa K, Alexopoulos P, Wagenpfeil S, Kurz A (2006). "Complex activities of daily living in mild cognitive impairment: conceptual and diagnostic issues". Age Ageing. 35 (3): 240–245. doi:10.1093/ageing/afj054. PMID 16513677.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  21. Arnáiz E, Almkvist O (2003). "Neuropsychological features of mild cognitive impairment and preclinical Alzheimer's disease". Acta Neurol. Scand., Suppl. 179: 34–41. doi:10.1034/j.1600-0404.107.s179.7.x. PMID 12603249. {{cite journal}}: |access-date= ต้องการ |url= (help)
  22. Kazui H, Matsuda A, Hirono N; และคณะ (2005). "Everyday memory impairment of patients with mild cognitive impairment". Dement Geriatr Cogn Disord. 19 (5–6): 331–7. doi:10.1159/000084559. PMID 15785034. สืบค้นเมื่อ 2008-06-12. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  23. Rapp MA, Reischies FM (2005). "Attention and executive control predict Alzheimer disease in late life: results from the Berlin Aging Study (BASE)". American Journal of Geriatric Psychiatry. 13 (2): 134–141. doi:10.1176/appi.ajgp.13.2.134. PMID 15703322.
  24. Spaan PE, Raaijmakers JG, Jonker C (2003). "Alzheimer's disease versus normal ageing: a review of the efficiency of clinical and experimental memory measures". Journal of Clinical Experimental Neuropsychology. 25 (2): 216–233. PMID 12754679.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  25. Craig D, Mirakhur A, Hart DJ, McIlroy SP, Passmore AP (2005). "A cross-sectional study of neuropsychiatric symptoms in 435 patients with Alzheimer's disease". American Journal of Geriatric Psychiatry. 13 (6): 460–468. doi:10.1176/appi.ajgp.13.6.460. PMID 15956265.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  26. Robert PH, Berr C, Volteau M, Bertogliati C, Benoit M, Sarazin M, Legrain S, Dubois B (2006). "Apathy in patients with mild cognitive impairment and the risk of developing dementia of Alzheimer's disease: a one-year follow-up study". Clin Neurol Neurosurg. 108 (8): 733–736. doi:10.1016/j.clineuro.2006.02.003. PMID 16567037.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  27. Palmer K, Berger AK, Monastero R, Winblad B, Bäckman L, Fratiglioni L (2007). "Predictors of progression from mild cognitive impairment to Alzheimer disease". Neurology. 68 (19): 1596–1602. doi:10.1212/01.wnl.0000260968.92345.3f. PMID 17485646.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  28. Small BJ, Gagnon E, Robinson B (2007). "Early identification of cognitive deficits: preclinical Alzheimer's disease and mild cognitive impairment". Geriatrics. 62 (4): 19–23. PMID 17408315. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  29. Petersen RC (2007). "The current status of mild cognitive impairment—what do we tell our patients?". Nat Clin Pract Neurol. 3 (2): 60–1. doi:10.1038/ncpneuro0402. PMID 17279076. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  30. 30.0 30.1 Förstl H, Kurz A (1999). "Clinical features of Alzheimer's disease". European Archives of Psychiatry and Clinical Neuroscience. 249 (6): 288–290. PMID 10653284.
  31. Carlesimo GA, Oscar-Berman M (1992). "Memory deficits in Alzheimer's patients: a comprehensive review". Neuropsychol Rev. 3 (2): 119–69. PMID 1300219. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  32. Jelicic M, Bonebakker AE, Bonke B (1995). "Implicit memory performance of patients with Alzheimer's disease: a brief review". International Psychogeriatrics. 7 (3): 385–392. doi:10.1017/S1041610295002134. PMID 8821346.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  33. Frank EM (1994). "Effect of Alzheimer's disease on communication function". J S C Med Assoc. 90 (9): 417–23. PMID 7967534. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  34. Becker JT, Overman AA (2002). "[The semantic memory deficit in Alzheimer's disease]". Rev Neurol (ภาษาSpanish; Castilian). 35 (8): 777–83. PMID 12402233.{{cite journal}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  35. Hodges JR, Patterson K (1995). "Is semantic memory consistently impaired early in the course of Alzheimer's disease? Neuroanatomical and diagnostic implications". Neuropsychologia. 33 (4): 441–59. PMID 7617154. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  36. Benke T (1993). "Two forms of apraxia in Alzheimer's disease". Cortex. 29 (4): 715–25. PMID 8124945. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)