ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักราชของจีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


==รายละเอียด==
==รายละเอียด==
ศักราชของจีนเป็นตำแหน่งที่ใช้ในการระบุและนับจำนวนปีในจีนสมัยจักรวรรดิ ศักราชมีต้นดำเนิดจากคำขวัญหรือคติพจน์ที่[[รายพระนามจักรพรรดิและพระมหากษัตริย์จีน|กษัตริย์]]ที่ครองราชย์ทรงเลือก และส่วนใหญ่สะท้อนภูมิทัศน์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และ/หรือสังคมในขณะนั้น เช่น [[จักรพรรดิฮั่นอู่]]ประกาศศักราชแรกของจีนเป็น ''เจี้ยนหยวน'' ({{lang|zh-Hant|建元}}; แปล. "สถาปนาต้นกำเนิด") สะท้อนถึงสถานะชื่อศักราชแรก เช่นเดียวกันกับศักราช ''เจี้ยนจงจิ้งกั๋ว'' ({{lang|zh-Hant|建中靖國}}; แปล. "สถาปนาประเทศอันเป็นกลางและสงบสุข") ที่ใช้งานโดย[[จักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง]] เป็นการบ่งบอกถึงอุดมคติของฮุ่ยจงต่อการกลั่นกรองการแข่งขันเกี่ยวกับการปฏิรูปการเมืองและสังคมระหว่างกลุ่มอนุรักษ์นิยมและกลุ่มก้าวหน้า

{{โครงส่วน}}

ศักราชของจีนส่วนใหญ่มี[[อักษรจีน]] 2 ตัว แม้ว่าจะมีศักราชที่มีอักษรจีนถึง 3, 4 และ 6 ตัวอยู่ด้วย ตัวอย่างศักราชที่ใช้อักษรจีนมากกว่า 2 ตัว ได้แก่ ''ฉื่อเจี้ยนกั๋ว'' ({{lang|zh-Hant|始建國}}; แปล. "the beginning of establishing a country") แห่ง[[ราชวงศ์ซิน]] ''เทียนเซ่อว่านซุ่ย'' ({{lang|zh-Hant|天冊萬歲}}; แปล. "Heaven-conferred longevity") แห่ง[[ราชวงศ์อู่โจว]] และ ''เทียนซื่อหลี่เชิ่งกั๋วชิ่ง'' ({{lang|zh-Hant|天賜禮盛國慶}}; แปล. "Heaven-bestowed ritualistic richness, nationally celebrated") แห่ง[[ราชวงศ์เซี่ยตะวันตก]]

ศักราชเป็นสัญลักษณ์แห่งความถูกต้องและความชอบธรรมทางการเมือง ดังนั้น เมื่อมีการสถาปนาราชวงศ์ใหม่ กษัตริย์/จักรพรรดิจีนส่วนใหญ่จะประกาศศักราชใหม่ ผู้นำกบฏที่พยายามสร้างรัฐเอกราชและความชอบธรรมก็ประกาศชื่อศักราชของตนเองด้วย รัฐบริวารและ[[รายชื่อรัฐบรรณาการจีน|รัฐบรรณาการ]]จีนสมัยจักรวรรดิส่วนใหญ่จะรับศักราชของกษัตริน์/จักรพรรดิจีนที่ครองราชย์อย่างเป็นทางการ ถือเป็นสัญลักษณ์การอยู่ใต้บังคับบัญชา—การปฏิบัตินี้รู้จักกันในชื่อ ''เฟิ่งเจิงชั่ว'' ({{lang|zh-Hant|奉正朔}}; แปล. "การตามเดือนแรกของปีและวันแรกของเดือน")<ref name=Orthodoxy1>{{cite book|last1=Yang|first1=Haitao|title=郑和与海|year=2017|publisher=Beijing Book Co. |url=https://books.google.com/books?id=ei-fDwAAQBAJ&q=%E5%A5%89%E6%AD%A3%E6%9C%94+%E5%B9%B4%E5%8F%B7&pg=PT34|isbn=9787541598883}}</ref><ref name=Orthodoxy2>{{cite book|last1=Kang|first1=Etsuko Hae-Jin|title=Diplomacy and Ideology in Japanese-Korean Relations: From the Fifteenth to the Eighteenth Century|year=2016|publisher=Springer |url=https://books.google.com/books?id=m85lCwAAQBAJ&q=korea+era+name+china&pg=PA38|isbn=9780230376939}}</ref> เช่น ระบอบการปกครองของเกาหลีอย่าง[[ชิลลา]], [[โครยอ]] และ[[โชซ็อน]]รับศักราชของจีนหลายครั้งด้วยจุดประสงค์ทั้งในประเทศและการทูต


==ประวัติ==
==ประวัติ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:24, 31 พฤษภาคม 2567

ศักราชของจีน
อักษรจีนตัวเต็ม年號
อักษรจีนตัวย่อ年号
ฮั่นยฺหวี่พินอินniánhào
ความหมายตามตัวอักษรชื่อปี

ศักราชของจีน หรือ เหนียนเฮ่า (จีนตัวย่อ: 年号; จีนตัวเต็ม: 年號; พินอิน: niánhào) บ้างก็เรียก รัชศก เป็นตำแหน่งที่ใช้งานโดยหลายราชวงศ์และการปกครองในจีนสมัยจักรวรรดิ เพื่อจุดประสงค์ในการระบุปีและหมายเลขปี เริ่มใช้ครั้งแรกในรัชสมัยจักรพรรดิฮั่นอู่เมื่อ 140 ปีก่อนคริสต์ศักราช[1][2] และระบบนี้ยังคงเป็นวิธีระบุปีและหมายเลขอย่างเป็นทางการจนกระทั่งสถาปนาสาธารณรัฐจีนใน ค.ศ. 1912 ที่แทนที่ระบบศักราชของจีนด้วยปฏิทินสาธารณรัฐจีน หน่วยการเมืองอื่น ๆ ในเขตวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก เช่น เกาหลี เวียดนาม และญี่ปุ่น ก็รับแนวคิดศักราชของจีน อันเป็นผลจากอิทธิพลทางการเมือง-วัฒนธรรมของจีน[2][3][4]

รายละเอียด

ศักราชของจีนเป็นตำแหน่งที่ใช้ในการระบุและนับจำนวนปีในจีนสมัยจักรวรรดิ ศักราชมีต้นดำเนิดจากคำขวัญหรือคติพจน์ที่กษัตริย์ที่ครองราชย์ทรงเลือก และส่วนใหญ่สะท้อนภูมิทัศน์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และ/หรือสังคมในขณะนั้น เช่น จักรพรรดิฮั่นอู่ประกาศศักราชแรกของจีนเป็น เจี้ยนหยวน (建元; แปล. "สถาปนาต้นกำเนิด") สะท้อนถึงสถานะชื่อศักราชแรก เช่นเดียวกันกับศักราช เจี้ยนจงจิ้งกั๋ว (建中靖國; แปล. "สถาปนาประเทศอันเป็นกลางและสงบสุข") ที่ใช้งานโดยจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง เป็นการบ่งบอกถึงอุดมคติของฮุ่ยจงต่อการกลั่นกรองการแข่งขันเกี่ยวกับการปฏิรูปการเมืองและสังคมระหว่างกลุ่มอนุรักษ์นิยมและกลุ่มก้าวหน้า

ศักราชของจีนส่วนใหญ่มีอักษรจีน 2 ตัว แม้ว่าจะมีศักราชที่มีอักษรจีนถึง 3, 4 และ 6 ตัวอยู่ด้วย ตัวอย่างศักราชที่ใช้อักษรจีนมากกว่า 2 ตัว ได้แก่ ฉื่อเจี้ยนกั๋ว (始建國; แปล. "the beginning of establishing a country") แห่งราชวงศ์ซิน เทียนเซ่อว่านซุ่ย (天冊萬歲; แปล. "Heaven-conferred longevity") แห่งราชวงศ์อู่โจว และ เทียนซื่อหลี่เชิ่งกั๋วชิ่ง (天賜禮盛國慶; แปล. "Heaven-bestowed ritualistic richness, nationally celebrated") แห่งราชวงศ์เซี่ยตะวันตก

ศักราชเป็นสัญลักษณ์แห่งความถูกต้องและความชอบธรรมทางการเมือง ดังนั้น เมื่อมีการสถาปนาราชวงศ์ใหม่ กษัตริย์/จักรพรรดิจีนส่วนใหญ่จะประกาศศักราชใหม่ ผู้นำกบฏที่พยายามสร้างรัฐเอกราชและความชอบธรรมก็ประกาศชื่อศักราชของตนเองด้วย รัฐบริวารและรัฐบรรณาการจีนสมัยจักรวรรดิส่วนใหญ่จะรับศักราชของกษัตริน์/จักรพรรดิจีนที่ครองราชย์อย่างเป็นทางการ ถือเป็นสัญลักษณ์การอยู่ใต้บังคับบัญชา—การปฏิบัตินี้รู้จักกันในชื่อ เฟิ่งเจิงชั่ว (奉正朔; แปล. "การตามเดือนแรกของปีและวันแรกของเดือน")[5][6] เช่น ระบอบการปกครองของเกาหลีอย่างชิลลา, โครยอ และโชซ็อนรับศักราชของจีนหลายครั้งด้วยจุดประสงค์ทั้งในประเทศและการทูต

ประวัติ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Lü, Zongli (2003). Power of the words: Chen prophecy in Chinese politics, AD 265-618. Peter Lang. ISBN 9783906769561.
  2. 2.0 2.1 Sogner, Sølvi (2001). Making Sense of Global History: The 19th International Congress of the Historical Sciences, Oslo 2000, Commemorative Volume. Universitetsforlaget. ISBN 9788215001067.
  3. "International Congress of Historical Sciences". 19. 2000. ISBN 9788299561419. สืบค้นเมื่อ 29 December 2019. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  4. "Ancient tradition carries forward with Japan's new era". สืบค้นเมื่อ 29 December 2019.
  5. Yang, Haitao (2017). 郑和与海. Beijing Book Co. ISBN 9787541598883.
  6. Kang, Etsuko Hae-Jin (2016). Diplomacy and Ideology in Japanese-Korean Relations: From the Fifteenth to the Eighteenth Century. Springer. ISBN 9780230376939.

แหล่งข้อมูลอื่น