ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอินทราชา (พระนครอินทร์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Su 21279 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Su 21279 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{infobox royalty
{{infobox royalty
|ชื่อ=พระอินทราชา (พระนครอินทร์)|พระอิสริยยศ=พระมหากษัตริย์เมืองนครหลวง|ครองราชย์=ไม่ปรากฏ-พ.ศ.1915|รัชกาลก่อนหน้า=พระธรรมาโศกราช|รัชกาลถัดไป=[[พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ)]]|ราชวงศ์=[[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]|สวรรคต=พ.ศ.1915|พระราชบิดา=[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]}}
|ชื่อ=พระอินทราชา (พระนครอินทร์)|พระอิสริยยศ=พระมหากษัตริย์เมืองนครหลวง|ครองราชย์=ไม่ปรากฏ-พ.ศ.1915|รัชกาลก่อนหน้า=พระธรรมาโศกราช|รัชกาลถัดไป=[[พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ)]]|ราชวงศ์=[[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]|สวรรคต=พ.ศ.1915|พระราชบิดา=[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]}}
'''พระอินทราชา (พระนครอินทร์)''' เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2|สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา)]] เมื่อ พ.ศ. 1974 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ได้เสด็จยกทัพไปตีเมืองนครหลวง (นครธม) ในรัชสมัย[[พระธรรมาโศกราช]] หลังจากนั้นสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 โปรดให้พระอินทราชา (พระนครอินทร์) ขึ้นเสวยราชสมบัติที่เมืองนครหลวง แต่พระอินทราชาปกครองเขมรได้ไม่นานก็ประชวรและเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 จึงโปรดให้พญาแพรก พระราชโอรสอีกพระองค์หนึ่งขึ้นครองเขมร แต่ปกครองได้ 1 ปี พญาแพรกก็ถูกปลงพระชนม์โดยเจ้าพระยาญาติ (พญาคามยาต) (เรื่องราวสอดคล้องกับพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก)
'''พระอินทราชา (พระนครอินทร์)''' <ref>{{Citation|last=Merz|first=Thomas|title=PDF in the Browser|date=1998|url=http://dx.doi.org/10.1007/978-3-642-72032-1_2|work=Web Publishing with Acrobat/PDF|pages=9–23|publisher=Springer Berlin Heidelberg|isbn=978-3-540-63762-2|access-date=2023-01-28}}</ref>เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2|สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา)]] เมื่อ พ.ศ. 1974 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ได้เสด็จยกทัพไปตีเมืองนครหลวง (นครธม) ในรัชสมัย[[พระธรรมาโศกราช]] หลังจากนั้นสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 โปรดให้พระอินทราชา (พระนครอินทร์) ขึ้นเสวยราชสมบัติที่เมืองนครหลวง แต่พระอินทราชาปกครองเขมรได้ไม่นานก็ประชวรและเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 จึงโปรดให้พญาแพรก พระราชโอรสอีกพระองค์หนึ่งขึ้นครองเขมร แต่ปกครองได้ 1 ปี พญาแพรกก็ถูกปลงพระชนม์โดยเจ้าพระยาญาติ (พญาคามยาต) (เรื่องราวสอดคล้องกับพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก) แต่หลักฐานอย่างพงศาวดารของกัมพูชาทุกฉบับ ให้ข้อมูลว่า พระอินทราชา กับ พญาแพรก คือพระองค์เดียวกัน เช่น พงศาวดารเมืองละแวก จ.ศ. 1158 ให้รายละเอียดว่า “จึ่งให้เจ้าพญาแพรด (พญาแพรก) ผู้เป็นราชบุตรอยู่ครองเมืองพระนครหลวง ทรงพระนามชื่อ พระอินทราชา แล้วกวาดครัวอพยพได้ประมาณ 4 หมื่นยกกลับไปพระนครศรีอยุทธยา
ฝ่ายพญาคามยาต (เจ้าพระยาญาติ) ขณะเมื่อเสียเมืองนั้น หนีไปอาศัยอยู่ ณ บ้านตันหัก แลนายบ้านนั้นชื่อ ขุนพลาไชย พาพรรคพวกมาพิทักษ์รักษาพญาคามยาต ครั้นอยู่มาปีหนึ่ง พญาคามยาตแต่งกลอุบายเอาดาบใส่ในแง (ภาชนะใส่เหล้า) สุราผนึกปลอมเข้าไปกับของทั้งปวงเข้าไปถวายพระอินทราชาๆ ให้เปิดแงออก ผู้ซึ่งเอาของนั้นก็ชักเอาดาบในแงเข้าฟันพระอินทราชาตาย” <ref>{{Cite journal|last=Kranz|first=Florence|date=2018-09|title=Occupational Deprivation – Weit entfernt von bedeutungsvollen Betätigungen|url=http://dx.doi.org/10.1055/a-0629-9690|journal=ergopraxis|volume=11|issue=09|pages=10–11|doi=10.1055/a-0629-9690|issn=1439-2283}}</ref>ส่วนพงศาวดารกัมพูชาฉบับอื่นๆ ให้รายละเอียดต่างกันไว้ว่า “เจ้าพระยาญาติใช้ให้มหาดเล็กทั้งสองไปลอบฆ่าพระอินทราชา”แม้จะสรุปไม่ได้ว่าพระอินทราชา กับ พญาแพรก เป็นพระองค์เดียวกันหรือไม่ แต่ข้อมูลหลังจากนั้นกล่าวไปในทิศทางเดียวกันว่า เจ้าพระยาญาติ (พญาคามยาต) ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมรพระองค์สุดท้าย ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จเสด็จพระราชโองการ พระบรมราชาธิราชารามาธิบดี พระศรีสุริโยพรรณ ธรรมิกมหาราชาธิราชบรมบพิตร
แต่หลักฐานอย่างพงศาวดารของกัมพูชาทุกฉบับ ให้ข้อมูลว่า พระอินทราชา กับ พญาแพรก คือพระองค์เดียวกัน เช่น พงศาวดารเมืองละแวก จ.ศ. 1158 ให้รายละเอียดว่า

“จึ่งให้เจ้าพญาแพรด (พญาแพรก) ผู้เป็นราชบุตรอยู่ครองเมืองพระนครหลวง ทรงพระนามชื่อ พระอินทราชา แล้วกวาดครัวอพยพได้ประมาณ 4 หมื่นยกกลับไปพระนครศรีอยุทธยา
== อ้างอิง ==
ฝ่ายพญาคามยาต (เจ้าพระยาญาติ) ขณะเมื่อเสียเมืองนั้น หนีไปอาศัยอยู่ ณ บ้านตันหัก แลนายบ้านนั้นชื่อ ขุนพลาไชย พาพรรคพวกมาพิทักษ์รักษาพญาคามยาต ครั้นอยู่มาปีหนึ่ง พญาคามยาตแต่งกลอุบายเอาดาบใส่ในแง (ภาชนะใส่เหล้า) สุราผนึกปลอมเข้าไปกับของทั้งปวงเข้าไปถวายพระอินทราชาๆ ให้เปิดแงออก ผู้ซึ่งเอาของนั้นก็ชักเอาดาบในแงเข้าฟันพระอินทราชาตาย” ส่วนพงศาวดารกัมพูชาฉบับอื่นๆ ให้รายละเอียดต่างกันไว้ว่า “เจ้าพระยาญาติใช้ให้มหาดเล็กทั้งสองไปลอบฆ่าพระอินทราชา”
แม้จะสรุปไม่ได้ว่าพระอินทราชา กับ พญาแพรก เป็นพระองค์เดียวกันหรือไม่ แต่ข้อมูลหลังจากนั้นกล่าวไปในทิศทางเดียวกันว่า เจ้าพระยาญาติ (พญาคามยาต) ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมรพระองค์สุดท้าย ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จเสด็จพระราชโองการ พระบรมราชาธิราชารามาธิบดี พระศรีสุริโยพรรณ ธรรมิกมหาราชาธิราชบรมบพิตร

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:41, 28 มกราคม 2566

พระอินทราชา (พระนครอินทร์)
พระมหากษัตริย์เมืองนครหลวง
ครองราชย์ไม่ปรากฏ-พ.ศ.1915
รัชกาลก่อนหน้าพระธรรมาโศกราช
รัชกาลถัดไปพระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ)
สวรรคตพ.ศ.1915
ราชวงศ์ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
พระราชบิดาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2

พระอินทราชา (พระนครอินทร์) [1]เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เมื่อ พ.ศ. 1974 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ได้เสด็จยกทัพไปตีเมืองนครหลวง (นครธม) ในรัชสมัยพระธรรมาโศกราช หลังจากนั้นสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 โปรดให้พระอินทราชา (พระนครอินทร์) ขึ้นเสวยราชสมบัติที่เมืองนครหลวง แต่พระอินทราชาปกครองเขมรได้ไม่นานก็ประชวรและเสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 จึงโปรดให้พญาแพรก พระราชโอรสอีกพระองค์หนึ่งขึ้นครองเขมร แต่ปกครองได้ 1 ปี พญาแพรกก็ถูกปลงพระชนม์โดยเจ้าพระยาญาติ (พญาคามยาต) (เรื่องราวสอดคล้องกับพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก) แต่หลักฐานอย่างพงศาวดารของกัมพูชาทุกฉบับ ให้ข้อมูลว่า พระอินทราชา กับ พญาแพรก คือพระองค์เดียวกัน เช่น พงศาวดารเมืองละแวก จ.ศ. 1158 ให้รายละเอียดว่า “จึ่งให้เจ้าพญาแพรด (พญาแพรก) ผู้เป็นราชบุตรอยู่ครองเมืองพระนครหลวง ทรงพระนามชื่อ พระอินทราชา แล้วกวาดครัวอพยพได้ประมาณ 4 หมื่นยกกลับไปพระนครศรีอยุทธยา ฝ่ายพญาคามยาต (เจ้าพระยาญาติ) ขณะเมื่อเสียเมืองนั้น หนีไปอาศัยอยู่ ณ บ้านตันหัก แลนายบ้านนั้นชื่อ ขุนพลาไชย พาพรรคพวกมาพิทักษ์รักษาพญาคามยาต ครั้นอยู่มาปีหนึ่ง พญาคามยาตแต่งกลอุบายเอาดาบใส่ในแง (ภาชนะใส่เหล้า) สุราผนึกปลอมเข้าไปกับของทั้งปวงเข้าไปถวายพระอินทราชาๆ ให้เปิดแงออก ผู้ซึ่งเอาของนั้นก็ชักเอาดาบในแงเข้าฟันพระอินทราชาตาย” [2]ส่วนพงศาวดารกัมพูชาฉบับอื่นๆ ให้รายละเอียดต่างกันไว้ว่า “เจ้าพระยาญาติใช้ให้มหาดเล็กทั้งสองไปลอบฆ่าพระอินทราชา”แม้จะสรุปไม่ได้ว่าพระอินทราชา กับ พญาแพรก เป็นพระองค์เดียวกันหรือไม่ แต่ข้อมูลหลังจากนั้นกล่าวไปในทิศทางเดียวกันว่า เจ้าพระยาญาติ (พญาคามยาต) ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเขมรพระองค์สุดท้าย ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จเสด็จพระราชโองการ พระบรมราชาธิราชารามาธิบดี พระศรีสุริโยพรรณ ธรรมิกมหาราชาธิราชบรมบพิตร

อ้างอิง

  1. Merz, Thomas (1998), "PDF in the Browser", Web Publishing with Acrobat/PDF, Springer Berlin Heidelberg, pp. 9–23, ISBN 978-3-540-63762-2, สืบค้นเมื่อ 2023-01-28
  2. Kranz, Florence (2018-09). "Occupational Deprivation – Weit entfernt von bedeutungsvollen Betätigungen". ergopraxis. 11 (09): 10–11. doi:10.1055/a-0629-9690. ISSN 1439-2283. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)