ลัทธิคุ้มครอง
ลัทธิคุ้มครอง (อังกฤษ: protectionism) เป็นนโยบายเศรษฐกิจที่จำกัดการนำเข้าจากประเทศอื่นโดยใช้วิธีการ เช่น การตั้งภาษีศุลกากร โควตานำเข้า และการวางระเบียบของรัฐบาลอื่น ๆ ผู้สนับสนุนอ้างว่านโยบายลัทธิคุ้มครองจะช่วยป้องกันผู้ผลิต ธุรกิจและคนงานของภาคที่แข่งขันนำเข้าในประเทศจากผู้แข่งขันต่างประเทศ ทว่า นโยบายดังกล่าวยังลดการค้าและมีผลเสียต่อผู้บริโภคโดยรวม (เพราะทำให้ราคาสินค้านำเข้าสูงขึ้น) และมีผลเสียต่อผู้ผลิตและคนงานในภาคส่งออก ทั้งในประเทศที่ใช้นโยบายลัทธิคุ้มครองและประเทศที่นโยบาลลัทธิคุ้มครองมีผล
มีความเห็นพ้องสากลในหมู่นักเศรษฐศาสตร์ว่าลัทธิคุ้มครองมีผลเสียต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและสวัสดิการทางเศรษฐกิจ[1][2][3][4] ส่วนการค้าเสรี การลดระเบียบ และการลดอุปสรรคการค้ามีผลดีต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ[2][5][6][7][8][9] ทว่า การเปิดเสรีการค้าบางทีทำให้การเสียและได้ประโยชน์กระจายมากและไม่เสมอภาค และในระยะสั้นอาจทำให้มีการย้ายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญของคนงานในภาคแข่งขันนำเข้า[6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Fairbrother, Malcolm (2014-03-01). "Economists, Capitalists, and the Making of Globalization: North American Free Trade in Comparative-Historical Perspective". American Journal of Sociology. 119 (5): 1324–1379. doi:10.1086/675410. ISSN 0002-9602.
- ↑ 2.0 2.1 N. Gregory Mankiw, Economists Actually Agree on This: The Wisdom of Free Trade, New York Times (April 24, 2015): "Economists are famous for disagreeing with one another.... But economists reach near unanimity on some topics, including international trade."
- ↑ "Economic Consensus On Free Trade". PIIE (ภาษาอังกฤษ). 2017-05-25. สืบค้นเมื่อ 2018-02-27.
- ↑ Poole, William. "Free Trade: Why Are Economists and Noneconomists So Far Apart?" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-02-27.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSee P 1994
- ↑ 6.0 6.1 "Free Trade" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). IGM Forum. March 13, 2012.
- ↑ "Import Duties" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). IGM Forum. October 4, 2016.
- ↑ "Trade Within Europe | IGM Forum". www.igmchicago.org (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2017-06-24.
- ↑ William Poole, Free Trade: Why Are Economists and Noneconomists So Far Apart, Federal Reserve Bank of St. Louis Review, September/October 2004, 86(5), pp. 1: "most observers agree that '[t]he consensus among mainstream economists on the desirability of free trade remains almost universal.'"