ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาโตทา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาโตทา
தோதா tōtā
ออกเสียง[t̪oːd̪ɑː]
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย
ภูมิภาคตำบลนิลคีรี
จำนวนผู้พูด1,560 คน  (2001 สำมะโน)[1]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรทมิฬ
(ตระกูลอักษรพราหมี)[2]
รหัสภาษา
ISO 639-3tcx

ภาษาโตทา หรือ ภาษาโตดา (Toda) เป็นภาษาในตระกูลภาษาดราวิเดียน พูดโดยชาวโตทา ซึ่งมีราวหนึ่งพันคนในหุบเขานิลคีรี ทางใต้ของอินเดีย ภาษาโตทามีสระถึง 16 เสียง มากที่สุดในบรรดากลุ่มภาษาดราวิเดียนทั้งหมด มีทั้งสระเสียงสั้นและเสียงยาว ภาษาโตทามีเสียงพยัญชนะแบบ fricatives และ trill มากที่สุดในบรรดากลุ่มภาษาดราวิเดียน[3]

สัทวิทยา

[แก้]

สระ

[แก้]
สระหน้า สระกลาง สระหลัง
NR R NR R NR R
สระปิด i y ɨ u
สระกึ่งเปิด e ɵ o
สระเปิด æː ɑ

พยัญชนะ

[แก้]
  โอษฐชะ Denti-
alveolar
Apical alveolar Apical alveolar
(concave, ที่เรียกกันว่า "เสียงปลายลิ้นม้วน")
Laminal postalveolar
(เสียงปุ่มเหงือกเพดานแข็ง)
Subapical Palatal
(เสียงปลายลิ้นม้วน)
Dorsal Palatal กัณฐชะ
Plain เสียดแทรกอุสุม ข้างลิ้น Plain ตาลุชะ Plain ตาลุชะ Plain ตาลุชะ ข้างลิ้น
เสียงนาสิก m ɳ
เสียงพยัญชนะกัก และ
เสียงกักเสียดแทรก
ไม่ก้อง p ts̪ t̻ʃ ʈ k
ก้อง b dz̪ d̻ʒ ɖ ɡ
เสียงเสียดแทรก ไม่ก้อง f θ ɬ̪ ʃ ʂ (ɬ̢) x
ก้อง ʒ ʐ (ɣ)
เสียงรัว r̘ʲ r̠ʲ ɽ͡r ɽ͡rʲ
เสียงข้างลิ้น ɭ
เสียงเปิด j w

อ้างอิง

[แก้]
  1. ethnologue (2015). "Toda". Ethnologue: Languages of the World (18th ed.). Ethnolouge.
  2. Toda language and script, Omniglot.
  3. Spajić et al. (1994).

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Emeneau, Murray B. 1984. Toda Grammar and Texts. American Philosophical Society, Memoirs Series, 155. Philadelphia: American Philosophical Society.
  • Siniša Spajić, Peter Ladefoged, P. Bhaskararao, 1994. "The rhotics of Toda". In UCLA Working Papers in Phonetics 87: Fieldwork Studies of Targeted Languages II.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • The Toda Language, ส่วนหนึ่งของ the Endangered Languages project
  • Toda ที่ the UCLA Phonetics Archive