ฟาบริเคเตอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟาบริเคเตอร์ คือ ชุดเครื่องมือร่วมกันพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บ รวมไปถึงเครื่องมือทบทวนโค้ดเชิงอนุพันธ์, เบราว์เซอร์บรรจุแบบกระจาย, เครื่องมือเฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงเฮอรัลด์ [1], ตัวติดตามบัคแบบประจักษ์ และวิกิเสียดทาน[2] ฟาบริเคเตอร์ทำงานร่วมกับกิต, เมอร์คิวเรียล, และซับเวอร์ชัน ชุดเครื่องมือนี้อยู่ในรูปแบบของซอฟต์แวร์เสรีภายใต้ลิขสิทธิ์อาปาเช่ เวอร์ชัน 2

เดิมทีฟาบริเคเตอร์ถูกพัฒนาเป็นเครื่องมือภายในของเฟสบุ๊ก[3][4][5] โดยอีวาน พรีสท์ลี่[6] พรีสท์ลีออกจากเฟสบุ๊กเพื่อทำการพัฒนาฟาบริเคเตอร์ในบริษัทใหม่ที่มีชื่อว่าฟาซิลิตี[7]

ผู้ใช้[แก้]

ตัวอย่างผู้ใช้ฟาบริเคเตอร์ได้แก่[8]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Dentel, C.; Nordio, M.; Meyer, B. (2012). "Monitors: Keeping Informed on Code Changes". Independent Research. ETH Zürich.
  2. "What is Phabricator?". สืบค้นเมื่อ 2013-10-24.
  3. "Phabricator Project History". สืบค้นเมื่อ 2013-10-24.
  4. "Meet Phabricator, the Witty Code Review Tool Built Inside Facebook". สืบค้นเมื่อ 2013-10-24.
  5. "A Look at Phabricator: Facebook's Web-Based Open Source Code Collaboration Tool". สืบค้นเมื่อ 2013-10-24.
  6. Fagerholm, F.; Johnson, P.; Guinea, A. S.; Borenstein, J; Münch, J (2013).
  7. "EvanPriestley(LinkedIn)" เก็บถาวร 2020-08-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  8. "The Phabricator Open Source Project on Ohloh". สืบค้นเมื่อ 2013-10-24.
  9. "Blender code blog". สืบค้นเมื่อ 2013-12-02.
  10. Feitelson, D. G.; Frachtenberg, E.; Beck, K. L. (4 February 2013). "Development and Deployment at Facebook". Internet Computing. IEEE. 17 (4): 8–17. doi:10.1109/MIC.2013.25.
  11. "FreeBSD Code Review Service". สืบค้นเมื่อ 2014-08-21.
  12. "Login to Phabricator". haskell.org.
  13. "Phabricator instance for KDE".
  14. "Using phabricator". สืบค้นเมื่อ 2013-10-24.
  15. "Code Reviews with Phabricator". สืบค้นเมื่อ 2013-10-24.
  16. Garg, Nikhil. "Moving Fast With High Code Quality". Engineering at Quora. สืบค้นเมื่อ 7 August 2015.
  17. "Wikimedia Phabricator".

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]