ฟัยยูม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟัยยูม

الفيوم
นคร
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
เรือตกปลาบนทะเลสาบกอรูน, หุบเขาวาฬ, ต้นไม้กั้นบริเวณที่แปรสภาพเป็นทะเลทราย, วิหารโซเบ็ก
ฟัยยูมตั้งอยู่ในประเทศอียิปต์
ฟัยยูม
ฟัยยูม
ที่ตั้งในประเทศอียิปต์
พิกัด: 29°18′30″N 30°50′39″E / 29.308374°N 30.844105°E / 29.308374; 30.844105พิกัดภูมิศาสตร์: 29°18′30″N 30°50′39″E / 29.308374°N 30.844105°E / 29.308374; 30.844105
ประเทศอียิปต์
เขตผู้ว่าการฟัยยูม
ความสูง23 เมตร (75 ฟุต)
ประชากร
 (2020)
 • ทั้งหมด3,848,708 คน
เขตเวลาUTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก)

อัลฟัยยูม (อาหรับ: الفيوم el-Fayyūm  ออกเสียง [elfæjˈjuːm], ยืมจาก คอปติก:  ̀Ⲫⲓⲟⲙ หรือ Ⲫⲓⲱⲙ Phiom หรือ Phiōm จาก อียิปต์โบราณ: pꜣ ym "ทะเล, ทะเลสาบ") เป็นนครในอียิปต์ตอนกลาง ตั้งอยู่ในโอเอซิสฟัยยูม ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงไคโรราว 100 กิโลเมตร (62 ไมล์) เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการอัลฟัยยูม เดิมเรียกว่า Shedet ในภาษาอียิปต์ กรีกเรียกว่า กรีกคอยนี: Κροκοδειλόπολις, อักษรโรมัน: Krokodilópolis ต่อมาเรียก กรีกสมัยกลาง: Ἀρσινόη, อักษรโรมัน: Arsinoë[1] ฟัยยูมถือเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดเมืองหนึ่งของอียิปต์อันเนื่องด้วยเป็นจุดยุทธศาสตร์[1]

ชื่อและศัพทมูล[แก้]

F30
d
t
O49
šd.t[2]
ไฮเออโรกลีฟอียิปต์
pAAiiG20mw
N36
p3-ym
ไฮเออโรกลีฟอียิปต์

เดิมชาวอียิปต์โบราณที่ก่อตั้งเมืองนี้เรียกเมืองนี้ว่า เชเดต (Shedet) ในอดีต ฟัยยูมมีชื่อทางการว่า มะดีนะตุลฟัยยูม (นครฟัยยูม) ชื่อฟัยยูมสามารถกล่าวถึงโอเอซิสฟัยยูม ถึงแม้ว่าในปัจจุบันชาวอียิปต์มักใช้เรียกเมือง[3][4]

ภูมิอากาศ[แก้]

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพินจัดให้เมืองนี้อยู่ในสภาพภูมิอากาศทรายร้อน (BWh)

อุณหภูมิสูงสุดเท่าที่บันทึกคือ 46 องศาเซลเซียส (115 องศาฟาเรนไฮต์) ในวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1965 และอุณหภูมิต่ำสุดเท่าที่บันทึกคือ 2 องศาเซลเซียส (36 องศาฟาเรนไฮต์) ในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1966[5]

ข้อมูลภูมิอากาศของฟัยยูม
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 28
(82)
30
(86)
36
(97)
41
(106)
43
(109)
46
(115)
41
(106)
43
(109)
39
(102)
40
(104)
36
(97)
30
(86)
46
(115)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 18.9
(66)
20.9
(69.6)
24.1
(75.4)
29
(84)
33.6
(92.5)
35.5
(95.9)
36.1
(97)
35.8
(96.4)
33.2
(91.8)
30.7
(87.3)
25.7
(78.3)
20.4
(68.7)
28.66
(83.59)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 11.6
(52.9)
13.2
(55.8)
16.1
(61)
20.4
(68.7)
24.9
(76.8)
27.1
(80.8)
28.2
(82.8)
28.1
(82.6)
25.7
(78.3)
23.1
(73.6)
18.6
(65.5)
13.5
(56.3)
20.88
(69.58)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 4.3
(39.7)
5.5
(41.9)
8.2
(46.8)
11.8
(53.2)
16.3
(61.3)
18.8
(65.8)
20.3
(68.5)
20.4
(68.7)
18.2
(64.8)
15.6
(60.1)
11.6
(52.9)
6.6
(43.9)
13.13
(55.64)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 2
(36)
4
(39)
5
(41)
8
(46)
11
(52)
16
(61)
13
(55)
13
(55)
10
(50)
11
(52)
4
(39)
4
(39)
2
(36)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 1
(0.04)
1
(0.04)
1
(0.04)
1
(0.04)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
1
(0.04)
2
(0.08)
7
(0.28)
แหล่งที่มา 1: Climate-Data.org[6]
แหล่งที่มา 2: Voodoo Skies[5] สำหรับบันทึกอุณหภูมิ

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Paola Davoli (2012). "The Archaeology of the Fayum". ใน Riggs, Christina (บ.ก.). The Oxford Handbook of Roman Egypt. Oxford University Press. pp. 152–153. ISBN 9780199571451.
  2. Gauthier, Henri (1928). Dictionnaire des Noms Géographiques Contenus dans les Textes Hiéroglyphiques. Vol. 5. p. 150.
  3. "The name of the Fayum province. Katholieke Universiteit Leuven". Trismegistos.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-29. สืบค้นเมื่อ 2013-01-15.
  4. "Faiyum. Eternal Egypt". Eternalegypt.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-13. สืบค้นเมื่อ 2013-01-15.
  5. 5.0 5.1 "Al Fayoum, Egypt". Voodoo Skies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2014. สืบค้นเมื่อ 17 July 2013.
  6. "Climate: Faiyum - Climate graph, Temperature graph, Climate table". Climate-Data.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2013. สืบค้นเมื่อ 17 August 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]