ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| พระนาม =
| พระนาม =
| พระอิสริยยศ = พระวรวงศ์เธอ
| พระอิสริยยศ = พระวรวงศ์เธอ
| ฐานันดรศักดิ์ = พระองค์เจ้าเจ้า
| ฐานันดรศักดิ์ = พระองค์เจ้า
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| วันประสูติ = 12 ธันวาคม พ.ศ. 2413
| วันประสูติ = 12 ธันวาคม พ.ศ. 2413
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| ชายา =
| ชายา =
| หม่อม = หม่อมเล็ก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
| หม่อม = หม่อมเล็ก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
| โอรส/ธิดา =
| โอรส/ธิดา =ไม่มีโอรสธิดา
}}
}}


'''พลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช''' ([[12 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2413]] - [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2481]]) อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงทหารเรือ และรองเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ <ref>[http://www.snidvongs.net/index.php?c_id=0&ct_id=9951&type=customize สายสกุลสนิทวงศ์]</ref> เป็นพระโอรสลำดับที่ 37 <ref name="พระอนุวงศ์">{{อ้างหนังสือ
'''นายพลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช''' ([[12 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2413]] - [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2481]]) อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงทหารเรือ และรองเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ <ref>[http://www.snidvongs.net/index.php?c_id=0&ct_id=9951&type=customize สายสกุลสนิทวงศ์]</ref> เป็นพระโอรสลำดับที่ 37 <ref name="พระอนุวงศ์">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
}}</ref> ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท]] เมื่อประสูติเป็นหม่อมเจ้า มีพระนามว่า '''หม่อมเจ้าตุ้ม'''
}}</ref> ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท]] เมื่อประสูติเป็นหม่อมเจ้า มีพระนามว่า '''หม่อมเจ้าตุ้ม'''


หม่อมเจ้าตุ้มทรงรับราชการใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ใน[[กระทรวงต่างประเทศ]] [[กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ]] และ[[กระทรวงทหารเรือ]] [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า และพระราชทานพระนามใหม่ว่า สนิทพงศ์พัฒนเดช เมื่อ พ.ศ. 2467 <ref>{{อ้างหนังสือ
หม่อมเจ้าตุ้มทรงรับราชการใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ใน[[กระทรวงต่างประเทศ]] [[กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ]] และ[[กระทรวงทหารเรือ]] [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า และพระราชทานพระนามใหม่ว่า สนิทพงศ์พัฒนเดช เมื่อ วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 <ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ
|ผู้แต่ง=ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ
|ชื่อหนังสือ=ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
|ชื่อหนังสือ=ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
}}</ref>
}}</ref>


พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช ทรงประทับอยู่ที่วังริม[[คลองบางหลวง]] <ref name="arcbs">[http://arcbs.bsru.ac.th/rLocal/print.php?story=08/03/30/4491009 ฐานข้อมูลท้องถิ่นธนบุรี] คลองบางหลวง</ref> มีหม่อมท่านหนึ่งคือ หม่อมเล็ก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ชาวไทยเชื้อสายลาวจาก[[จังหวัดอุบลราชธานี]] พระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2481]] พระชันษา 64 ปี พระศพยังคงไม่ได้รับพระราชทานเพลิง แต่บรรจุอยู่ที่[[วัดบรมสถล]] (วัดดอน [[ยานนาวา]])<ref name="arcbs"/> ตามที่รับสั่งกับหม่อมเล็ก<ref>มหาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, สำนักศิลปและวัฒนธรรม. ''ทีทัศน์วัฒนธรรม''. กรุงเทพฯ: สำนักศิลปและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2551. หน้า 65-91</ref>
นายพลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช ทรงประทับอยู่ที่วังริม[[คลองบางหลวง|คลองกอกใหญ่]] <ref name="arcbs">[http://arcbs.bsru.ac.th/rLocal/print.php?story=08/03/30/4491009 ฐานข้อมูลท้องถิ่นธนบุรี] คลองบางหลวง</ref> (ปากคลองบางไส่ไก่) มีหม่อมสามท่าน แต่หม่อมท่านสุดท้าย คือ หม่อมเล็ก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (บุตรีนายเลื่อม และ นางจันทร์) ชาวไทยเชื้อสายลาวจาก[[จังหวัดอุบลราชธานี]] พระองค์สิ้นพระชนม์ด้วยโรคพระหทัยพิการ ที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2481]] พระชันษา 64 ปี ศพยังคงไม่ได้รับพระราชทานเพลิง แต่บรรจุอยู่ที่[[วัดบรมสถล]] (วัดดอน [[ยานนาวา]])<ref name="arcbs"/> ตามที่รับสั่งกับหม่อมเล็ก<ref>มหาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, สำนักศิลปและวัฒนธรรม. ''ทีทัศน์วัฒนธรรม''. กรุงเทพฯ: สำนักศิลปและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2551. หน้า 65-91</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:25, 27 พฤศจิกายน 2562

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช
พระวรวงศ์เธอ
ประสูติ12 ธันวาคม พ.ศ. 2413
สิ้นชีพิตักษัย17 กันยายน พ.ศ. 2481 (67 ปี)
หม่อม
  • หม่อมเล็ก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
โอรสหรือธิดาไม่มีโอรสธิดา
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

นายพลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช (12 ธันวาคม พ.ศ. 2413 - 17 กันยายน พ.ศ. 2481) อดีตปลัดทูลฉลองกระทรวงทหารเรือ และรองเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ [1] เป็นพระโอรสลำดับที่ 37 [2] ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท เมื่อประสูติเป็นหม่อมเจ้า มีพระนามว่า หม่อมเจ้าตุ้ม

หม่อมเจ้าตุ้มทรงรับราชการในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกระทรวงต่างประเทศ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และกระทรวงทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า และพระราชทานพระนามใหม่ว่า สนิทพงศ์พัฒนเดช เมื่อ วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 [3]

นายพลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช ทรงประทับอยู่ที่วังริมคลองกอกใหญ่ [4] (ปากคลองบางไส่ไก่) มีหม่อมสามท่าน แต่หม่อมท่านสุดท้าย คือ หม่อมเล็ก สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (บุตรีนายเลื่อม และ นางจันทร์) ชาวไทยเชื้อสายลาวจากจังหวัดอุบลราชธานี พระองค์สิ้นพระชนม์ด้วยโรคพระหทัยพิการ ที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2481 พระชันษา 64 ปี ศพยังคงไม่ได้รับพระราชทานเพลิง แต่บรรจุอยู่ที่วัดบรมสถล (วัดดอน ยานนาวา)[4] ตามที่รับสั่งกับหม่อมเล็ก[5]

อ้างอิง

  1. สายสกุลสนิทวงศ์
  2. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  3. ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
  4. 4.0 4.1 ฐานข้อมูลท้องถิ่นธนบุรี คลองบางหลวง
  5. มหาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, สำนักศิลปและวัฒนธรรม. ทีทัศน์วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักศิลปและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 2551. หน้า 65-91