ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟังก์ชันแฮช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Hash_function.svg|thumb|300px|right|ตัวอย่างการทำงานของฟังก์ชันแฮช]]
[[ภาพ:Hash_function.svg|thumb|300px|right|ตัวอย่างการทำงานของฟังก์ชันแฮช]]
'''ฟังก์ชันแฮช''' (hash function) คือวิธีการอย่างหนึ่งซึ่งทำให้[[ข้อมูล]]ส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด ให้กลายเป็นจำนวนเล็กๆ อันหนึ่งอย่างมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งจำนวนดังกล่าวเปรียบได้ว่าเป็น "ลายนิ้วมือ" ของข้อมูล [[ขั้นตอนวิธี]]ของฟังก์ชันแฮชส่วนใหญ่จะเป็นการแบ่งย่อยข้อมูลและการผสมข้อมูลย่อยทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สุดท้าย ผลลัพธ์ดังกล่าวอาจเรียกว่า '''ผลบวกแฮช''' (hash sum) '''ค่าแฮช''' (hash value) '''รหัสแฮช''' (hash code) หรือเรียกว่า '''แฮช''' (hash) เฉยๆ ก็ได้ บ่อยครั้งที่การเอ่ยถึงแฮชจะหมายถึงฟังก์ชันแฮชโดยปริยาย ปกติแล้วฟังก์ชันแฮชจะทำงานผ่านดัชนีที่เก็บไว้ใน[[ตารางแฮช]]ที่อยู่ใน[[หน่วยความจำ]]หรือ[[แฟ้มข้อมูล]]ชั่วคราว [[ฟังก์ชันแฮชเข้ารหัส]] (cryptographic hash function) คือฟังก์ชันแฮชที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ในด้าน[[ความปลอดภัยของสารสนเทศ]] อาทิ[[การยืนยันตน]]เพื่อเข้าสู่ระบบ (authentication) หรือการตรวจสอบความสมบูรณ์ของเนื้อหาข้อมูล
'''ฟังก์ชันแฮช''' (hash function) คือวิธีการอย่างหนึ่งซึ่งทำให้[[ข้อมูล]]ส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด ให้กลายเป็นจำนวนเล็กๆ อันหนึ่งอย่างมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งจำนวนดังกล่าวเปรียบได้ว่าเป็น "ลายนิ้วมือ" ของข้อมูล [[ขั้นตอนวิธี]]ของฟังก์ชันแฮชส่วนใหญ่จะเป็นการแบ่งย่อยข้อมูลและการผสมข้อมูลย่อยทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สุดท้าย ผลลัพธ์ดังกล่าวอาจเรียกว่า '''ผลบวกแฮช''' (hash sum) '''ค่าแฮช''' (hash value) '''รหัสแฮช''' (hash code) หรือเรียกว่า '''แฮช''' (hash) เฉยๆ ก็ได้ บ่อยครั้งที่การเอ่ยถึงแฮชจะหมายถึงฟังก์ชันแฮชโดยปริยาย ปกติแล้วฟังก์ชันแฮชจะทำงานผ่านดัชนีที่เก็บไว้ใน[[ตารางแฮช]]ที่อยู่ใน[[หน่วยความจำ]]หรือ[[แฟ้มข้อมูล]]ชั่วคราว [[ฟังก์ชันแฮชเข้ารหัส]] (cryptographic hash function) คือฟังก์ชันแฮชที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ในด้าน[[ความปลอดภัยของสารสนเทศ]] อาทิ[[การยืนยันตน]]เพื่อเข้าสู่ระบบ (authentication) หรือการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหาข้อมูล อาทิ [[SHA-1]], [[MD5]] หรือ [[CRC32]] เป็นต้น

ฟังก์ชันแฮชมีหลายรูปแบบ แต่หลักๆ จะเป็น SHA-1, MD5 และ CRC32 โดยมีข้อดีคือทำให้เราสามารถเช็กไฟล์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรม ไฟล์นามสกุลต่างๆ หรือไฟล์ Client, patch, manual patch ว่า ไฟล์ที่เราดาวน์โหลดมาหรือมีอยู่ในเครื่องของเรา มีค่า hash ตรงกับไฟล์ต้นฉบับที่อยู่บนหน้าเว็บหรือไม่ ซึ่งเดี๋ยวนี้ส่วนใหญ่ตามเว็บต่างๆ ที่มีไฟล์ให้โหลด จะมีค่า hash บอกติดเอาไว้ด้วยอยู่แล้ว ซึ่งหากมีค่า hash ไม่ตรงกันนั่นหมายถึง ไฟล์ๆ นั้นอาจจะมีปัญหาเช่น ไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ ไม่ว่าชื่อของไฟล์จะถูกเปลี่ยนไปเป็นชื่อใด หากข้อมูลในไฟล์นั้นเหมือนกัน ค่า hash ที่ออกมาก็จะเหมือนกันเสมอ


[[หมวดหมู่:ขั้นตอนวิธี]]
[[หมวดหมู่:ขั้นตอนวิธี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:13, 8 ธันวาคม 2550

ตัวอย่างการทำงานของฟังก์ชันแฮช

ฟังก์ชันแฮช (hash function) คือวิธีการอย่างหนึ่งซึ่งทำให้ข้อมูลส่วนหนึ่งหรือทั้งหมด ให้กลายเป็นจำนวนเล็กๆ อันหนึ่งอย่างมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งจำนวนดังกล่าวเปรียบได้ว่าเป็น "ลายนิ้วมือ" ของข้อมูล ขั้นตอนวิธีของฟังก์ชันแฮชส่วนใหญ่จะเป็นการแบ่งย่อยข้อมูลและการผสมข้อมูลย่อยทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สุดท้าย ผลลัพธ์ดังกล่าวอาจเรียกว่า ผลบวกแฮช (hash sum) ค่าแฮช (hash value) รหัสแฮช (hash code) หรือเรียกว่า แฮช (hash) เฉยๆ ก็ได้ บ่อยครั้งที่การเอ่ยถึงแฮชจะหมายถึงฟังก์ชันแฮชโดยปริยาย ปกติแล้วฟังก์ชันแฮชจะทำงานผ่านดัชนีที่เก็บไว้ในตารางแฮชที่อยู่ในหน่วยความจำหรือแฟ้มข้อมูลชั่วคราว ฟังก์ชันแฮชเข้ารหัส (cryptographic hash function) คือฟังก์ชันแฮชที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ในด้านความปลอดภัยของสารสนเทศ อาทิการยืนยันตนเพื่อเข้าสู่ระบบ (authentication) หรือการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของเนื้อหาข้อมูล อาทิ SHA-1, MD5 หรือ CRC32 เป็นต้น