ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
Jadenarong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ เป็นพระตำหนัก ๒ ชั้น สร้างด้วยไม้สักทอง ทาสีแดง มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก ของประเทศทางตะวันตก แต่ได้มีการปรับปรุงองค์ประกอบบางส่วน ให้เหมาะกับภูมิอากาศแบบเมืองร้อน พระตำหนักองค์นี้ สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ โดยมีฉนวนทางเดินทำเป็นสะพาน จากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีฯ ข้ามคูน้ำเชื่อมกับชั้นบนด้านหน้าของพระตำหนักมารีฯ สะพานดังกล่าวหลังคามุงกระเบื้อง และติดหน้าต่างกระจกทั้งสองด้าน ตลอดความยาวของสะพานที่เชื่อมติดต่อถึงกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักนี้ ในราวปีพุทธศักราช ๒๔๕๙ โดยมีหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรร กฤดากร เป็นสถาปนิกออกแบบ
พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ เป็นพระตำหนัก ๒ ชั้น สร้างด้วยไม้สักทอง ทาสีแดง มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก ของประเทศทางตะวันตก แต่ได้มีการปรับปรุงองค์ประกอบบางส่วน ให้เหมาะกับภูมิอากาศแบบเมืองร้อน พระตำหนักองค์นี้ สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ โดยมีฉนวนทางเดินทำเป็นสะพาน จากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีฯ ข้ามคูน้ำเชื่อมกับชั้นบนด้านหน้าของพระตำหนักมารีฯ สะพานดังกล่าวหลังคามุงกระเบื้อง และติดหน้าต่างกระจกทั้งสองด้าน ตลอดความยาวของสะพานที่เชื่อมติดต่อถึงกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักนี้ ในราวปีพุทธศักราช ๒๔๕๙ โดยมี[[หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรร กฤดากร]] เป็นสถาปนิกออกแบบ
พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ และฉนวนสะพานเชื่อมพระตำหนัก เป็นกลุ่มอาคารที่พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลพระราชหฤทัยจากบทละครเรื่อง My Friend Jarlet ของ Arnold Golsworthy และ E.B. Norman ซึ่งทรงแปลบทละครเรื่องนี้เป็นภาษาไทยชื่อว่า “ มิตรแท้ “ โดยทรงนำชื่อตัวละครในเรื่องมาเป็นชื่อของพระตำหนัก
[[พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์]] พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ และฉนวนสะพานเชื่อมพระตำหนัก เป็นกลุ่มอาคารที่พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลพระราชหฤทัยจากบทละครเรื่อง My Friend Jarlet ของ Arnold Golsworthy และ E.B. Norman ซึ่งทรงแปลบทละครเรื่องนี้เป็นภาษาไทยชื่อว่า “ มิตรแท้ “ โดยทรงนำชื่อตัวละครในเรื่องมาเป็นชื่อของพระตำหนัก


== หนังสืออ่านเพิ่ม ==
* มหาวิทยาลัยศิลปากร '''พระราชวังสนามจันทร์ ''' โมเดอร์น เพรส พ.ศ. 2533.
* มหาวิทยาลัยศิลปากร '''พระราชวังสนามจันทร์ และพระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์''' บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด พ.ศ. 2534.

==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.palaces.thai.net/day/index_sc.htm พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์] จาก [[สำนักพระราชวัง]]
* [http://www.hamanan.com/tour/nakhonpathom/sanamjun.html พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์] จาก หามานานดอตคอม
* [http://www1.mod.go.th/heritage/nation/tour/sanamjan.htm#top พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์] จาก [[หอมรดกไทย]]

[[หมวดหมู่:พระตำหนัก|ม]]
[[หมวดหมู่:พระราชวังสนามจันทร์]]
[[หมวดหมู่:พระราชวังสนามจันทร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:09, 25 พฤศจิกายน 2550

พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ เป็นพระตำหนัก ๒ ชั้น สร้างด้วยไม้สักทอง ทาสีแดง มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก ของประเทศทางตะวันตก แต่ได้มีการปรับปรุงองค์ประกอบบางส่วน ให้เหมาะกับภูมิอากาศแบบเมืองร้อน พระตำหนักองค์นี้ สร้างขึ้นคู่กับพระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ โดยมีฉนวนทางเดินทำเป็นสะพาน จากชั้นบนด้านหลังของพระตำหนักชาลีฯ ข้ามคูน้ำเชื่อมกับชั้นบนด้านหน้าของพระตำหนักมารีฯ สะพานดังกล่าวหลังคามุงกระเบื้อง และติดหน้าต่างกระจกทั้งสองด้าน ตลอดความยาวของสะพานที่เชื่อมติดต่อถึงกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักนี้ ในราวปีพุทธศักราช ๒๔๕๙ โดยมีหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรร กฤดากร เป็นสถาปนิกออกแบบ พระตำหนักชาลีมงคลอาสน์ พระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ และฉนวนสะพานเชื่อมพระตำหนัก เป็นกลุ่มอาคารที่พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วยแรงบันดาลพระราชหฤทัยจากบทละครเรื่อง My Friend Jarlet ของ Arnold Golsworthy และ E.B. Norman ซึ่งทรงแปลบทละครเรื่องนี้เป็นภาษาไทยชื่อว่า “ มิตรแท้ “ โดยทรงนำชื่อตัวละครในเรื่องมาเป็นชื่อของพระตำหนัก

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ โมเดอร์น เพรส พ.ศ. 2533.
  • มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ และพระตำหนักมารีราชรัตบัลลังก์ บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด พ.ศ. 2534.

แหล่งข้อมูลอื่น