ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Anyamas/ทดลองเขียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anyamas (คุย | ส่วนร่วม)
2ndoct (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
<!-- กรุณาทดลองเขียนหรือร่างบทความใต้บรรทัดนี้ -->
<br />
== เทศ นัฏกานุรักษ์ ==

คุณหญิง'''เทศ นัฏกานุรักษ์''' หรือ '''คุณหญิงครู''' นาฏศิลปินยอดเยี่ยมของประเทศไทย มีชื่อเสียงโดดเด่นในด้าน "[[ละคร|ละครดึกดำบรรพ์]]"
== คุณหญิงเทศ นัฏกานุรักษ์ ==
'''คุณหญิงเทศ นัฏกานุรักษ์''' หรือ '''คุณหญิงครู''' นาฏศิลปินยอดเยี่ยมของประเทศไทย มีชื่อเสียงโดดเด่นในด้าน "[[ละคร|ละครดึกดำบรรพ์]]"


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
คุณหญิงเทศ เดิมชื่อเทศ การสาสนะ<ref>คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุวรรณภารต). [ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://changrum.com/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8/ เข้าถึงเมื่อ 8 มีนาคม 2562 </ref>เป็นบุตรของนายเนียมและนางเมือง การสาสนะ เกิดเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2421 ตรงกับวันเสาร์ แรม 4 ค่ำ เดือน 9 ปีขาล เมื่ออายุได้ 10 ปี ได้เข้าอยู่ในบ้านเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ที่ถนนอัษฎางค์ (วังบ้านหม้อ) บ้านนี้เคยเป็นวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้นสอง [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระพิทักษเทเวศร์|กรมพระพิทักษ์เทเวศร]] (พระองค์เจ้ากุญชร) ซึ่งมีละครและโขนอยู่ในวัง ต่อมาเมื่อสิ้นพระชนม์แล้ว พระสิงหนาทฯ ทรงได้รับมรดกตกทอดมา โดยมีหม่อมเข็ม และหม่อมคร้ามเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงในคณะละครของพระองค์
คุณหญิงเทศ เดิมชื่อเทศ การสาสนะ เป็นบุตรของนายเนียมและนางเมือง การสาสนะ เกิดเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2421 ตรงกับวันเสาร์ แรม 4 ค่ำ เดือน 9 ปีขาล เมื่ออายุได้ 10 ปี ได้เข้าอยู่ในบ้านเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ที่ถนนอัษฎางค์ (วังบ้านหม้อ) บ้านนี้เคยเป็นวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้นสอง [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระพิทักษเทเวศร์|กรมพระพิทักษเทเวศร์]] (พระองค์เจ้ากุญชร) ซึ่งมีละครและโขนอยู่ในวัง ต่อมาเมื่อสิ้นพระชนม์แล้ว พระสิงหนาทฯ ทรงได้รับมรดกตกทอดมา โดยมีหม่อมเข็ม และหม่อมคร้ามเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงในคณะละครของพระองค์


คุณหญิงเทศได้เข้าเป็นลูกศิษย์ของหม่อมคร้าม (ชำนาญการรำตัวยักษ์) และหม่อมเข็ม (ชำนาญการรำตัวพระ) และได้รับความรู้ด้านอื่นๆ จากหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์อีกหลายท่าน ฝึกหัดการรำเป็นตัวละครยักษ์จนชำนาญ ต่อมาคุณหญิงเทศมีชื่อเสียงเด่นที่สุดในสมัยเจ้าพระยาเทเวศรฯ ในด้านละครดึกดำบรรพ์ โดยได้รับบทเป็นตัวละครสำคัญ คือ ระตูจรกา และเจ้าเงาะ นอกจากนี้ ตัวละครตัวเด่นอีกตัวหนึ่งที่คุณหญิงเทศได้แสดงเป็นตัวนางเพียงครั้งเดียว คือ นางสูรปนขา
คุณหญิงเทศได้เข้าเป็นลูกศิษย์ของหม่อมคร้าม (ชำนาญการรำตัวยักษ์) และหม่อมเข็ม (ชำนาญการรำตัวพระ) และได้รับความรู้ด้านอื่นๆ จากหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์อีกหลายท่าน ฝึกหัดการรำเป็นตัวละครยักษ์จนชำนาญ ต่อมาคุณหญิงเทศมีชื่อเสียงเด่นที่สุดในสมัยเจ้าพระยาเทเวศรฯ ในด้านละครดึกดำบรรพ์ โดยได้รับบทเป็นตัวละครสำคัญ คือ ระตูจรกา และเจ้าเงาะ นอกจากนี้ ตัวละครตัวเด่นอีกตัวหนึ่งที่คุณหญิงเทศได้แสดงเป็นตัวนางเพียงครั้งเดียว คือ นางสูรปนขา
บรรทัด 11: บรรทัด 10:
คุณหญิงเทศได้สมรสกับพระยานัฏกานุรักษ์ (ทองดี สุวรรณภารต) ต่อมาในรัชกาลที่ 6 พระยานัฏกานุรักษ์ได้รับราชการในกรมมหรสพ คุณหญิงเทศจึงได้เข้าไปเป็นครูละครหลวง และแสดงถวายตัวในบทต่าง ๆ จนได้รับพระราชทานตรา[[จตุตถจุลจอมเกล้า]]จาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] คุณหญิงเทศจึงได้เป็นคุณหญิงก่อนที่พระยานัฏกานุรักษ์ได้เป็นพระยา และได้เลื่อนตราจตุตถจุลจอมเกล้าเป็นชั้น 3 ในปี พ.ศ. 2462 ได้รับพระราชทานเข็มพระปรมาภิไธยราม.ร ชั้น 2 และได้รับพระราชทานเสมา ร.ร. 6 ชั้นเข็มข้าหลวงเดิม นอกจากนี้คุณหญิงเทศยังได้รับพระราชทานเจิมในวันพิธีไหว้ครูละคร การได้รับพระราชทานเจิมในครั้งนี้ ทำให้คุณหญิงเทศกล้าครอบโขนให้แก่ศิษย์ไปจำนวนหนึ่ง แม้จะขัดต่อคติทางนาฏศิลป์โขนที่ต้องใช้ครูผู้ชายครอบ
คุณหญิงเทศได้สมรสกับพระยานัฏกานุรักษ์ (ทองดี สุวรรณภารต) ต่อมาในรัชกาลที่ 6 พระยานัฏกานุรักษ์ได้รับราชการในกรมมหรสพ คุณหญิงเทศจึงได้เข้าไปเป็นครูละครหลวง และแสดงถวายตัวในบทต่าง ๆ จนได้รับพระราชทานตรา[[จตุตถจุลจอมเกล้า]]จาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] คุณหญิงเทศจึงได้เป็นคุณหญิงก่อนที่พระยานัฏกานุรักษ์ได้เป็นพระยา และได้เลื่อนตราจตุตถจุลจอมเกล้าเป็นชั้น 3 ในปี พ.ศ. 2462 ได้รับพระราชทานเข็มพระปรมาภิไธยราม.ร ชั้น 2 และได้รับพระราชทานเสมา ร.ร. 6 ชั้นเข็มข้าหลวงเดิม นอกจากนี้คุณหญิงเทศยังได้รับพระราชทานเจิมในวันพิธีไหว้ครูละคร การได้รับพระราชทานเจิมในครั้งนี้ ทำให้คุณหญิงเทศกล้าครอบโขนให้แก่ศิษย์ไปจำนวนหนึ่ง แม้จะขัดต่อคติทางนาฏศิลป์โขนที่ต้องใช้ครูผู้ชายครอบ


ปีพ.ศ. 2469 คุณหญิงเทศออกจากราชการเนื่องจากการปรับงบประมาณแผ่นดิน และได้กลับเข้าราชการในกระทรวงวังใน พ.ศ. 2470 ในตำแหน่งผู้ฝึกละครหลวง ที่สอนการรำได้ทุกท่าทาง คือ พระ ยักษ์ ลิง และนาง
.ศ. 2469 คุณหญิงเทศออกจากราชการเนื่องจากการปรับงบประมาณแผ่นดิน และได้กลับเข้าราชการในกระทรวงวังใน พ.ศ. 2470 ในตำแหน่งผู้ฝึกละครหลวง ที่สอนการรำได้ทุกท่าทาง คือ พระ ยักษ์ ลิง และนาง


ปีพ.ศ. 2483 คุณหญิงเทศได้ถ่ายทอดวิชาครั้งสุดท้ายในช่วงอายุ 62 ปี ในการแสดงละครที่จัดขึ้นที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหาเงินส่งไปบำรุงขวัญทหารแนวหน้าในสงครามระหว่างไทยกับอินโดจีนของฝรั่งเศส
.ศ. 2483 คุณหญิงเทศได้ถ่ายทอดวิชาครั้งสุดท้ายในช่วงอายุ 62 ปี ในการแสดงละครที่จัดขึ้นที่[[หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เพื่อหาเงินส่งไปบำรุงขวัญทหารแนวหน้าในสงครามระหว่างไทยกับอินโดจีนของฝรั่งเศส


แม้ในช่วงวัย 80 ปีเศษ คุณหญิงเทศก็ยังได้ถวายงานตรวจสอบ "การออกองค์" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นงานชิ้นสุดท้ายในวิชานาฏศิลป์ และถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2510
แม้ในช่วงวัย 80 ปีเศษ คุณหญิงเทศก็ยังได้ถวายงานตรวจสอบ "การออกองค์" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นงานชิ้นสุดท้ายในวิชานาฏศิลป์ และถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2510


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
*{{cite web |url=http://changrum.com/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8/ |title=คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุวรรณภารต) |author=<!--Not stated--> |date= |website= |publisher= |access-date=8 มีนาคม 2562 |quote=}}

*{{cite book|last=|first=|date=2535|title=นารีผู้มีคุณ เล่ม 2|url=|location=กรุงเทพฯ|publisher=สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติไทย สำนักเลขานายกรัฐมนตรี|page= <!-- or pages= -->|isbn=|author-link= }}
'''คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุวรรณภารต)'''. [ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://changrum.com/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8/ เข้าถึงเมื่อ 8 มีนาคม 2562.
*{{cite book |date=2511 |title=อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงเทศ นัฏกานุรักษ์ ณ ฌาปนสถานวัดธาตุทอง วันอาทิตย์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2511 |url=http://203.131.219.242/cdm/ref/collection/cremation/id/4151/ |access-date=10 มีนาคม 2562}}

'''นารีผู้มีคุณ เล่ม 2'''. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติไทย สำนักเลขานายกรัฐมนตรี, 2535.
<!-- กรุณาทดลองเขียนหรือร่างบทความใต้บรรทัดนี้ -->

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:28, 10 มีนาคม 2562

เทศ นัฏกานุรักษ์

คุณหญิงเทศ นัฏกานุรักษ์ หรือ คุณหญิงครู นาฏศิลปินยอดเยี่ยมของประเทศไทย มีชื่อเสียงโดดเด่นในด้าน "ละครดึกดำบรรพ์"

ประวัติ

คุณหญิงเทศ เดิมชื่อเทศ การสาสนะ เป็นบุตรของนายเนียมและนางเมือง การสาสนะ เกิดเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2421 ตรงกับวันเสาร์ แรม 4 ค่ำ เดือน 9 ปีขาล เมื่ออายุได้ 10 ปี ได้เข้าอยู่ในบ้านเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ (ม.ร.ว. หลาน กุญชร) ที่ถนนอัษฎางค์ (วังบ้านหม้อ) บ้านนี้เคยเป็นวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้นสอง กรมพระพิทักษเทเวศร์ (พระองค์เจ้ากุญชร) ซึ่งมีละครและโขนอยู่ในวัง ต่อมาเมื่อสิ้นพระชนม์แล้ว พระสิงหนาทฯ ทรงได้รับมรดกตกทอดมา โดยมีหม่อมเข็ม และหม่อมคร้ามเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงในคณะละครของพระองค์

คุณหญิงเทศได้เข้าเป็นลูกศิษย์ของหม่อมคร้าม (ชำนาญการรำตัวยักษ์) และหม่อมเข็ม (ชำนาญการรำตัวพระ) และได้รับความรู้ด้านอื่นๆ จากหม่อมของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์อีกหลายท่าน ฝึกหัดการรำเป็นตัวละครยักษ์จนชำนาญ ต่อมาคุณหญิงเทศมีชื่อเสียงเด่นที่สุดในสมัยเจ้าพระยาเทเวศรฯ ในด้านละครดึกดำบรรพ์ โดยได้รับบทเป็นตัวละครสำคัญ คือ ระตูจรกา และเจ้าเงาะ นอกจากนี้ ตัวละครตัวเด่นอีกตัวหนึ่งที่คุณหญิงเทศได้แสดงเป็นตัวนางเพียงครั้งเดียว คือ นางสูรปนขา

คุณหญิงเทศได้สมรสกับพระยานัฏกานุรักษ์ (ทองดี สุวรรณภารต) ต่อมาในรัชกาลที่ 6 พระยานัฏกานุรักษ์ได้รับราชการในกรมมหรสพ คุณหญิงเทศจึงได้เข้าไปเป็นครูละครหลวง และแสดงถวายตัวในบทต่าง ๆ จนได้รับพระราชทานตราจตุตถจุลจอมเกล้าจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว คุณหญิงเทศจึงได้เป็นคุณหญิงก่อนที่พระยานัฏกานุรักษ์ได้เป็นพระยา และได้เลื่อนตราจตุตถจุลจอมเกล้าเป็นชั้น 3 ในปี พ.ศ. 2462 ได้รับพระราชทานเข็มพระปรมาภิไธยราม.ร ชั้น 2 และได้รับพระราชทานเสมา ร.ร. 6 ชั้นเข็มข้าหลวงเดิม นอกจากนี้คุณหญิงเทศยังได้รับพระราชทานเจิมในวันพิธีไหว้ครูละคร การได้รับพระราชทานเจิมในครั้งนี้ ทำให้คุณหญิงเทศกล้าครอบโขนให้แก่ศิษย์ไปจำนวนหนึ่ง แม้จะขัดต่อคติทางนาฏศิลป์โขนที่ต้องใช้ครูผู้ชายครอบ

พ.ศ. 2469 คุณหญิงเทศออกจากราชการเนื่องจากการปรับงบประมาณแผ่นดิน และได้กลับเข้าราชการในกระทรวงวังใน พ.ศ. 2470 ในตำแหน่งผู้ฝึกละครหลวง ที่สอนการรำได้ทุกท่าทาง คือ พระ ยักษ์ ลิง และนาง

พ.ศ. 2483 คุณหญิงเทศได้ถ่ายทอดวิชาครั้งสุดท้ายในช่วงอายุ 62 ปี ในการแสดงละครที่จัดขึ้นที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหาเงินส่งไปบำรุงขวัญทหารแนวหน้าในสงครามระหว่างไทยกับอินโดจีนของฝรั่งเศส

แม้ในช่วงวัย 80 ปีเศษ คุณหญิงเทศก็ยังได้ถวายงานตรวจสอบ "การออกองค์" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นงานชิ้นสุดท้ายในวิชานาฏศิลป์ และถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2510

อ้างอิง

  • "คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุวรรณภารต)". สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  • นารีผู้มีคุณ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติไทย สำนักเลขานายกรัฐมนตรี. 2535.
  • อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงเทศ นัฏกานุรักษ์ ณ ฌาปนสถานวัดธาตุทอง วันอาทิตย์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2511. 2511. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2562. {{cite book}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)