ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
รามีความหลากหลายทางชีวภาพมาก ซึ่งการเติบโตของไฮฟา ทำให้เกิดรูปร่างที่ผิดแปลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนอาหาร<ref>{{cite web|last=Morgan|first=Mike|title=Moulds|url=http://www.microscopy-uk.org.uk/mag/indexmag.html?http://www.microscopy-uk.org.uk/mag/artjan99/mmould.html|publisher=Microscopy UK|accessdate=26 June 2012}}</ref> รามีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin) ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่งเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์
รามีความหลากหลายทางชีวภาพมาก ซึ่งการเติบโตของไฮฟา ทำให้เกิดรูปร่างที่ผิดแปลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนอาหาร<ref>{{cite web|last=Morgan|first=Mike|title=Moulds|url=http://www.microscopy-uk.org.uk/mag/indexmag.html?http://www.microscopy-uk.org.uk/mag/artjan99/mmould.html|publisher=Microscopy UK|accessdate=26 June 2012}}</ref> รามีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin) ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่งเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์


ราถูกจัดให้เป็น[[จุลินทรีย์]] และไม่ถูกจำแนกออกไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง แต่สามารถพบได้ในส่วน[[ไซโกไมโคตา]]และ[[อาสโกไมโคตา]] ในอดีต ราถูกจัดให้อยู่ภายในกลุ่ม[[ดิวเทอโรไมโคตา]]<ref name=Hibbett2007>{{cite journal |vauthors=Hibbett DS, Binder M, Bischoff JF, Blackwell M, Cannon PF, Eriksson OE, etal | year=2007 | title=A higher level phylogenetic classification of the ''Fungi'' |journal=Mycological Research | pmid=17572334 |volume=111 |issue=5 | pages=509–547 |doi=10.1016/j.mycres.2007.03.004 |url=http://www.clarku.edu/faculty/dhibbett/AFTOL/documents/AFTOL%20class%20mss%2023,%2024/AFTOL%20CLASS%20MS%20resub.pdf |format=PDF}}</ref> ็HELLOOOOOOO
ราถูกจัดให้เป็น[[จุลินทรีย์]] และไม่ถูกจำแนกออกไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง แต่สามารถพบได้ในส่วน[[ไซโกไมโคตา]]และ[[อาสโกไมโคตา]] ในอดีต ราถูกจัดให้อยู่ภายในกลุ่ม[[ดิวเทอโรไมโคตา]]<ref name=Hibbett2007>{{cite journal |vauthors=Hibbett DS, Binder M, Bischoff JF, Blackwell M, Cannon PF, Eriksson OE, etal | year=2007 | title=A higher level phylogenetic classification of the ''Fungi'' |journal=Mycological Research | pmid=17572334 |volume=111 |issue=5 | pages=509–547 |doi=10.1016/j.mycres.2007.03.004 |url=http://www.clarku.edu/faculty/dhibbett/AFTOL/documents/AFTOL%20class%20mss%2023,%2024/AFTOL%20CLASS%20MS%20resub.pdf |format=PDF}}</ref> ็

YEAH and be hamble


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:10, 15 ตุลาคม 2561

รา หรือ เชื้อรา เป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรเห็ดราซึ่งโตในรูปของใยหลายเซลล์ที่เรียกว่า ไฮฟา[1][2] ในทางตรงกันข้าม ราที่สามารถเติบโตในรูปแบบของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจะเรียกว่า ยีสต์

รามีความหลากหลายทางชีวภาพมาก ซึ่งการเติบโตของไฮฟา ทำให้เกิดรูปร่างที่ผิดแปลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนอาหาร[3] รามีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin) ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่งเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์

ราถูกจัดให้เป็นจุลินทรีย์ และไม่ถูกจำแนกออกไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง แต่สามารถพบได้ในส่วนไซโกไมโคตาและอาสโกไมโคตา ในอดีต ราถูกจัดให้อยู่ภายในกลุ่มดิวเทอโรไมโคตา[4]

อ้างอิง

  1. Moore D; Robson GD; Trinci APJ (editors). (2011). 21st Century Guidebook to Fungi (1st ed.). Cambridge University Press. ISBN 978-0521186957. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. Madigan M; Martinko J (editors). (2005). Brock Biology of Microorganisms (11th ed.). Prentice Hall. ISBN 0-13-144329-1. OCLC 57001814. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  3. Morgan, Mike. "Moulds". Microscopy UK. สืบค้นเมื่อ 26 June 2012.
  4. Hibbett DS, Binder M, Bischoff JF, Blackwell M, Cannon PF, Eriksson OE, และคณะ (2007). "A higher level phylogenetic classification of the Fungi" (PDF). Mycological Research. 111 (5): 509–547. doi:10.1016/j.mycres.2007.03.004. PMID 17572334.