ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นคร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q515 (translate me)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
({{lang-en|city}}) เป็นนิคมมนุษย์ค่อนข้างใหญ่และถาวร<ref name="Goodall">Goodall, B. (1987) ''The Penguin Dictionary of Human Geography. London: Penguin.</ref><ref name="Kuper and Kuper">Kuper, A. and Kuper, J., eds (1996) ''The Social Science Encyclopedia''. 2nd edition. London: Routledge.</ref> แม้จะไม่มีการตกลงว่า คำว่า "นคร" ความหมายแตกต่างจากคำว่า "เมือง" อย่างไร หลายนครมีสถานะการปกครอง กฎหมาย และประวัตศาสตร์เฉพาะตัวตามกฎหมายท้องถิ่น
{{ความหมายอื่น|||นคร (แก้ความกำกวม)}}
{{ระวังสับสน|เมือง}}
'''นคร''' ({{lang-en|city}}) เป็นนิคมมนุษย์ค่อนข้างใหญ่และถาวร<ref name="Goodall">Goodall, B. (1987) ''The Penguin Dictionary of Human Geography. London: Penguin.</ref><ref name="Kuper and Kuper">Kuper, A. and Kuper, J., eds (1996) ''The Social Science Encyclopedia''. 2nd edition. London: Routledge.</ref> แม้จะไม่มีการตกลงว่า คำว่า "นคร" ความหมายแตกต่างจากคำว่า "เมือง" อย่างไร หลายนครมีสถานะการปกครอง กฎหมาย และประวัตศาสตร์เฉพาะตัวตามกฎหมายท้องถิ่น


โดยปกตินครมีระบบ[[การสุขาภิบาล]] [[สาธารณูปโภค]] การใช้ที่ดิน ที่อยู่อาศัยและการขนส่งซับซ้อน การมุ่งการพัฒนาอำนวยความสะดวกแก่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับธุรกิจอย่างมาก ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่ายไปพร้อมกัน นครใหญ่หรือเรียก "มหานคร" (metropolis) โดยปกติแล้วมี[[เขตชานเมือง]] (suburb) และ[[บริเวณเชื่อมชนบทกับเมือง]] (exurb) นครเหล่านี้มักเกี่ยวกับพื้นที่มหานครและพื้นที่เขตเมือง โดยผู้ไปกลับเป็นประจำ (commuter) ทางธุรกิจจำนวนมากเดินทางไปในเขตเมืองเพื่อหางานทำ เมื่อนครขยายขอบเขตออกไปกว้างพอถึงนครอีกแห่งหนึ่ง พื้นที่ตรงนั้นสามารถถือว่าเป็น[[เขตเมืองขยาย]] (conurbation) หรือ[[อภิมหานคร]] (megalopolis) ได้
โดยปกตินครมีระบบ[[การสุขาภิบาล]] [[สาธารณูปโภค]] การใช้ที่ดิน ที่อยู่อาศัยและการขนส่งซับซ้อน การมุ่งการพัฒนาอำนวยความสะดวกแก่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับธุรกิจอย่างมาก ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่ายไปพร้อมกัน นครใหญ่หรือเรียก "มหานคร" (metropolis) โดยปกติแล้วมี[[เขตชานเมือง]] (suburb) และ[[บริเวณเชื่อมชนบทกับเมือง]] (exurb) นครเหล่านี้มักเกี่ยวกับพื้นที่มหานครและพื้นที่เขตเมือง โดยผู้ไปกลับเป็นประจำ (commuter) ทางธุรกิจจำนวนมากเดินทางไปในเขตเมืองเพื่อหางานทำ เมื่อนครขยายขอบเขตออกไปกว้างพอถึงนครอีกแห่งหนึ่ง พื้นที่ตรงนั้นสามารถถือว่าเป็น[[เขตเมืองขยาย]] (conurbation) หรือ[[อภิมหานคร]] (megalopolis) ได้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:43, 7 กันยายน 2561

(อังกฤษ: city) เป็นนิคมมนุษย์ค่อนข้างใหญ่และถาวร[1][2] แม้จะไม่มีการตกลงว่า คำว่า "นคร" ความหมายแตกต่างจากคำว่า "เมือง" อย่างไร หลายนครมีสถานะการปกครอง กฎหมาย และประวัตศาสตร์เฉพาะตัวตามกฎหมายท้องถิ่น

โดยปกตินครมีระบบการสุขาภิบาล สาธารณูปโภค การใช้ที่ดิน ที่อยู่อาศัยและการขนส่งซับซ้อน การมุ่งการพัฒนาอำนวยความสะดวกแก่ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับธุรกิจอย่างมาก ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่ายไปพร้อมกัน นครใหญ่หรือเรียก "มหานคร" (metropolis) โดยปกติแล้วมีเขตชานเมือง (suburb) และบริเวณเชื่อมชนบทกับเมือง (exurb) นครเหล่านี้มักเกี่ยวกับพื้นที่มหานครและพื้นที่เขตเมือง โดยผู้ไปกลับเป็นประจำ (commuter) ทางธุรกิจจำนวนมากเดินทางไปในเขตเมืองเพื่อหางานทำ เมื่อนครขยายขอบเขตออกไปกว้างพอถึงนครอีกแห่งหนึ่ง พื้นที่ตรงนั้นสามารถถือว่าเป็นเขตเมืองขยาย (conurbation) หรืออภิมหานคร (megalopolis) ได้

อ้างอิง

  1. Goodall, B. (1987) The Penguin Dictionary of Human Geography. London: Penguin.
  2. Kuper, A. and Kuper, J., eds (1996) The Social Science Encyclopedia. 2nd edition. London: Routledge.