ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารสื่อประสาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
# จะต้องมีกลไกทาง[[ชีวเคมี]]ที่ใช้ในการหยารทำงานของสารสื่อประสาทเกิดขึ้น
# จะต้องมีกลไกทาง[[ชีวเคมี]]ที่ใช้ในการหยารทำงานของสารสื่อประสาทเกิดขึ้น


อย่างไรก็ตาม บางคนถือว่าสสารบางชนิด เช่น ไอออนของสักะสี ซึ่งไม่ได้สังเคราะห์หรือเกิดขึ้นโด
อย่างไรก็ตาม บางคนถือว่าสสารบางชนิด เช่น ไอออนของสักะสี ซึ่งไม่ได้สังเคราะห์หรือเกิดขึ้นโดยมะขามป้อมหรือปลาหางนกยูง
== ชนิดของสารสื่อประสาท ==
== ชนิดของสารสื่อประสาท ==
* กรดอะมิโน (amino acids)
* กรดอะมิโน (amino acids)
บรรทัด 25: บรรทัด 25:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[ระบบประแสด]]
* [[ระบบประสาท]]
* [[สมอง]]
* [[สมอง]]
* [[ประสาทวิทยาศาสตร์]]
* [[ประสาทวิทยาศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:25, 10 มิถุนายน 2558

สารสื่อประสาท (neurotransmitter) คือ สารเคมีที่มีหน้าที่ในการนำ, ขยาย และควบคุมสัญญาณไฟฟ้าจากเซลล์ประสาทเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง ตามระบอบความเชื่อ ที่ตั้งขึ้นในทศวรรษที่ 1960 โดยที่สารเคมีนั้นจะเป็นสารสื่อประสาทได้จะต้องเป็นจริงตามเงื่อนไขดังนี้

  1. สารนั้นต้องสารภายในเซลล์ อันเป็นเซลล์ที่เรียกว่า เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (presynaptic neuron)
  2. สารที่พบใน presynaptic neuron จะต้องมีปริมาณเพียงพอที่เมื่อหลัอกมาแล้วสามารถทำให้เกิดผลที่ เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ (postsynaptic neuron) ได้
  3. ถ้าหากนำสารนี้ใส่ไปบริเวณ postsynaptic neuron (หมายถึง สารนั้นไม่ได้มาจาก presynaptic neuron แต่นำสหรือสังเคราะห์ใส่ไปในกาดลอง) จะทำให้เกผลเหมือนกับผลที่ได้จากการหลั่งสารจาก presynaptic neuron
  4. จะต้องมีกลไกทางชีวเคมีที่ใช้ในการหยารทำงานของสารสื่อประสาทเกิดขึ้น

อย่างไรก็ตาม บางคนถือว่าสสารบางชนิด เช่น ไอออนของสักะสี ซึ่งไม่ได้สังเคราะห์หรือเกิดขึ้นโดยมะขามป้อมหรือปลาหางนกยูง

ชนิดของสารสื่อประสาท

  • กรดอะมิโน (amino acids)

ลักษณะเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก สามารถขนส่งได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น กลูตาเมต (glutamate), ไกลซีน (glycine), GABA เป็นต้น

  • Catecholamines

ตัวอย่างเช่น DA, 5-HT, NE เป็นต้น

  • Neuropeptides

เป็นสารสื่อประสาทที่มีคุณสมบัติ slow communication ตัวอย่างเช่น substance P เป็นต้น

การส่งสารสื่อประสาท

เมื่อมีการส่งกระแสประสาท สารสื่อประจะถูกนำเข้าสู่เซลล์ปาทโดยผ่านทางช่องรับสารสประสาทที่อยู่ยื่อหุ้มเซลล์ของปลายประสาทเดนไดรท์ หรือที่เรียกว่าประตูไอออน (ion channels) ซึ่งประตูไอออนนี้ก็จะมีหลายชนิดแตกต่างนไปและมีกลไกในการเปิดรับสารสื่อประสาทที่แตกต่างกันด้วย โดยที่ประตูไอนแต่ละชนิดก็จะจับกับสารสื่อประสาทอย่างจำเพาะเจาะจง เมื่อสารสื่อประสาทเหล่านี้เข้ามาสู่ภายในเซลล์แล้ว ก็จะถูกบรรจุในถุงที่เรียกว่าเวสสิเคิล (vesicle) ซึ่งเวสสิเคิลก็จะเคลนที่ไปยังเซลล์ประสาทเพื่อส่งสารสื่อประสาทนี้ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆต่อไปตามกลไกของมัน

กลไกในการกำจัดสารสื่อประสาท

เมื่อมีการหลั่งสารสื่อประสาทออกมา หลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อยก็จะมีกลไกในการกำจัดสารสื่อประสาทที่เหลือได้หลายรูปแบบดังนี้

  1. นำกลับไปใช้ใหม่ (Reuptake) คือ การนำสารสื่อประสาทไปบรรจุไว้ในเวสสิเคิลเหมือนเดิม เพื่อทำหน้าที่ในการสื่อสัญญาประสาทต่อไป
  2. ทำลายทิ้งโดยไซม์ (Enzymatic degradation) คือ การกำจัดสารสื่อประสาทโดยใช้เอนไซม์เ ตัวทำให้สารสื่อประสาทนั้นมีโครงสร้างที่เสียไป และไม่สามารถใช้งานได้อีก
  3. การแพร่ออกไป (Diffusion) คือ การแพร่สารสื่อประสาทไปยังบริเวณอื่นๆ

ดูเพิ่ม