ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตวบาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘ราชบัณฑิตสถาน’ ด้วย ‘ราชบัณฑิตยสถาน’
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
# การแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ดี
# การแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ดี


ราชบัณฑิตสถาน ได้บัญญัติศัพท์คำว่า "สัตวบาล"
ราชบัณฑิตยสถาน ได้บัญญัติศัพท์คำว่า "สัตวบาล"
'''สัตวบาล''' ความหมาย น. การเลี้ยงและดูแลสัตว์ ; ผู้เลี้ยงและดูแลสัตว์
'''สัตวบาล''' ความหมาย น. การเลี้ยงและดูแลสัตว์ ; ผู้เลี้ยงและดูแลสัตว์



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:53, 29 มีนาคม 2558

สัตวบาล (Animal Husbandry) หรือ สัตวศาสตร์ (Animal Science) คือ ผู้อภิบาลปศุสัตว์ หรือผู้ทำหน้าที่เลี้ยงดูสัตว์เลี้ยง จัดเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่รวบรวมองค์ความรู้ในด้านการจัดการฟาร์ม (Farm management) การโภชนาศาสตร์สัตว์(Animal Nutrotion) การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Animal Breeding) การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์(Animal Technology) การแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ (Food processing) และการอนุรักษ์ดำรงไว้ของสายพันธุ์สัตว์ นับว่าเป็นศาสตร์ที่มีความสำคัญยิ่งในการผลิตสัตว์และเลี้ยงดูสัตว์ ให้เจริญเติบโต แข็งแรง ปราศจากโรค และทำให้สัตว์สามารถแพร่ขยายพันธุ์ได้มากพอกับความต้องการบริโภค

สัตวบาลเป็นวิชาชีพที่ถือกำเนิดขึ้นพร้อมกับการสถาปนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2486 โดย หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ ซึ่งการทำงานของ สัตวบาล จะยึดหลักวิชาการ ในสายวิชาชีพ 5 ประการคือ

  1. การจัดการฟาร์มดี
  2. พันธุ์สัตว์ดี
  3. อาหารดี
  4. การสุขาภิบาลดี
  5. การแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ดี

ราชบัณฑิตยสถาน ได้บัญญัติศัพท์คำว่า "สัตวบาล" สัตวบาล ความหมาย น. การเลี้ยงและดูแลสัตว์ ; ผู้เลี้ยงและดูแลสัตว์