ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วนศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Voradol (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Voradol (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
วนศาสตร์ (Forestry) เป็นศาสตร์และศิลปที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับป่าไม้ ซึ่งรวมถึงความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ ของปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสังคมพืชป่าไม้โดยมีสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้แก่ สาขาทรัพยากรป่าไม้ เช่น ชีววิทยาป่าไม้ วนวัฒนวิทยา วิทยาศาสตร์สัตว์ป่าและทุ่งหญ้า สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม้ หรือวนผลิตภัณฑ์ สาขาวนศาสตร์ชุมชน เป็นต้น
วนศาสตร์ (Forestry) เป็นศาสตร์และศิลปที่ว่าด้วยการศึกษาและการจัดการเกี่ยวกับป่าไม้ ซึ่งรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ วนศาสตร์นั้นครอบคลุมในเรื่องของทรัพยากรป่าไม้หลายด้านด้วยกัน ได้แก่ วนวัฒนวิทยาที่ศึกษาถึงปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อต้นไม้โดยเน้นที่การจัดการสวนป่า การจัดการลุ่มน้ำ เป็นการศึกษาอิทธิพลของป่าไม้ที่มีผลต่อปริมาณของน้ำท่า หรือการจัดการป่าไม้เพื่ออนุรักษ์น้ำ การจัดการอุทยานแห่งชาติเพื่อตอบสนองต่อการอนุรักษ์พื้นที่ป่า และประโยชน์ด้านนันทนาการ ซึ่งมีสาขาวิชาหลักๆที่เกี่ยวข้องได้แก่ สาขาทรัพยากรป่าไม้ เช่น ชีววิทยาป่าไม้ วนวัฒนวิทยา วิทยาศาสตร์สัตว์ป่าและทุ่งหญ้า สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม้ หรือวนผลิตภัณฑ์ สาขาวนศาสตร์ชุมชน เป็นต้น
โดยผู้ที่ปฏิบัติงานด้านป่าไม้ หรือผู้ที่จบการศึกษาด้านวนศาสตร์มักจะเรียกว่า วนกร

การป่าไม้ในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยทรงสถาปนากรมป่าไม้ (Royal Forest Department)เมื่อร้อยปีเศษมาแล้ว โดยจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการป่าไม้ชาวอังกฤษชื่อนาย เอ็ช. สเลด เป็นอธิบดีคนแรก
การป่าไม้ในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยทรงสถาปนากรมป่าไม้ (Royal Forest Department)เมื่อร้อยปีเศษมาแล้ว โดยจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการป่าไม้ชาวอังกฤษชื่อนาย เอ็ช. สเลด เป็นอธิบดีคนแรก

การศึกษาด้านวิชาการป่าไม้หรือวนศาสตร์เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2479 โดยการจัดตั้งโรงเรียนป่าไม้จังหวัดแพร่ ต่อมาเมื่อได้มีการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2486 จึงได้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยวนศาสตร์และเปลี่ยนมาเป็นคณะวนศาสตร์ในปัจจุบัน
การศึกษาด้านวิชาการป่าไม้หรือวนศาสตร์เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2479 โดยการจัดตั้งโรงเรียนป่าไม้จังหวัดแพร่ ต่อมาเมื่อได้มีการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2486 จึงได้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยวนศาสตร์และเปลี่ยนมาเป็นคณะวนศาสตร์ในปัจจุบัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:21, 30 พฤษภาคม 2550

วนศาสตร์ (Forestry) เป็นศาสตร์และศิลปที่ว่าด้วยการศึกษาและการจัดการเกี่ยวกับป่าไม้ ซึ่งรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ วนศาสตร์นั้นครอบคลุมในเรื่องของทรัพยากรป่าไม้หลายด้านด้วยกัน ได้แก่ วนวัฒนวิทยาที่ศึกษาถึงปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อต้นไม้โดยเน้นที่การจัดการสวนป่า การจัดการลุ่มน้ำ เป็นการศึกษาอิทธิพลของป่าไม้ที่มีผลต่อปริมาณของน้ำท่า หรือการจัดการป่าไม้เพื่ออนุรักษ์น้ำ การจัดการอุทยานแห่งชาติเพื่อตอบสนองต่อการอนุรักษ์พื้นที่ป่า และประโยชน์ด้านนันทนาการ ซึ่งมีสาขาวิชาหลักๆที่เกี่ยวข้องได้แก่ สาขาทรัพยากรป่าไม้ เช่น ชีววิทยาป่าไม้ วนวัฒนวิทยา วิทยาศาสตร์สัตว์ป่าและทุ่งหญ้า สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม้ หรือวนผลิตภัณฑ์ สาขาวนศาสตร์ชุมชน เป็นต้น โดยผู้ที่ปฏิบัติงานด้านป่าไม้ หรือผู้ที่จบการศึกษาด้านวนศาสตร์มักจะเรียกว่า วนกร การป่าไม้ในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยทรงสถาปนากรมป่าไม้ (Royal Forest Department)เมื่อร้อยปีเศษมาแล้ว โดยจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการป่าไม้ชาวอังกฤษชื่อนาย เอ็ช. สเลด เป็นอธิบดีคนแรก การศึกษาด้านวิชาการป่าไม้หรือวนศาสตร์เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2479 โดยการจัดตั้งโรงเรียนป่าไม้จังหวัดแพร่ ต่อมาเมื่อได้มีการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2486 จึงได้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยวนศาสตร์และเปลี่ยนมาเป็นคณะวนศาสตร์ในปัจจุบัน