ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกษม ดวงแพงมาต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุขพินทุ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
สุขพินทุ (คุย | ส่วนร่วม)
พระเกษม อาจิณฺณสีโล
บรรทัด 80: บรรทัด 80:
'''พระเกษม อาจิณฺณสีโล''' นามสกุล ดวงแพงมาต เกิดวันอาทิตย์ ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2503 (เอกสารข้อมูลศาลจังหวัดหล่มสัก ว่า 14 มีนาคม) บิดาชื่อ นาย ยอย ดวงแพงมาต (บุตรนาย ก่าน ดวงแพงมาต) มารดาชื่อ นาง เก้ง จิรโชติ (บุตรีนาย โก่ จิรโชติ) เป็นชาวจังหวัดอุดรธานี
'''พระเกษม อาจิณฺณสีโล''' นามสกุล ดวงแพงมาต เกิดวันอาทิตย์ ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2503 (เอกสารข้อมูลศาลจังหวัดหล่มสัก ว่า 14 มีนาคม) บิดาชื่อ นาย ยอย ดวงแพงมาต (บุตรนาย ก่าน ดวงแพงมาต) มารดาชื่อ นาง เก้ง จิรโชติ (บุตรีนาย โก่ จิรโชติ) เป็นชาวจังหวัดอุดรธานี


อุบาสก เกษม ดวงแพงมาต อุปสมบทที่ วัดไชยาราม ต.เชียงพิณ อ.เมือง จ.อุดรธานี เมื่อ ปี พ.ศ. 2529 ได้รับฉายาในอุปสมบทว่า <font face="true" size="true" style="color:black">‘ อาจิณฺณสีโล ’</font> เมื่ออุปสมบทแล้ว ได้จาริกท่องเที่ยวตามสถานธรรม และป่าเขาทั่วไป จนเมื่อปี พ.ศ. 2534 ได้ปักกลด และประพฤติธุดงค์ ที่บริเวณป่าเขา หมู่บ้านห้วยยางทอง ต.วังกวาง ซึ่งไม่ไกลมากนักจากที่พักสงฆ์ป่าห้วยผึ้ง(วัดป่าสามแยก) ต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. 2538 จึงตกลงพักจำพรรษาที่ ที่พักสงฆ์วัดป่าสามแยกเพื่ออาศัยเป็นที่ปฏิบัติกิจวัตร และสั่งสอนธรรมะ ร่วมกับพระเฉลิม ภิกษุสงฆ์ จากวัดป่าบ้านตาด จากนั้นพระภิกษุสงฆ์กับทั้งนักปฏิบัติธรรมะด้วยกันนั้นต่างก็ช่วยกันดูแลบำรุงป่าเขาที่แห้งแล้ง ด้วยการเพิ่มพืชพันธุ์ไม้ให้กับ ป่าเขาบริเวณนั้นซึ่งแต่ก่อนมีสภาพเสื่อมโทรม
อุบาสก เกษม ดวงแพงมาต อุปสมบทที่ วัดไชยาราม ต.เชียงพิณ อ.เมือง จ.อุดรธานี เมื่อ ปี พ.ศ. 2529 ได้รับฉายาในอุปสมบทว่า <font face="true" size="true" style="color:black">‘ อาจิณฺณสีโล ’</font> เมื่ออุปสมบทแล้ว ได้จาริกท่องเที่ยวตามสถานธรรม และป่าเขาทั่วไป จนเมื่อปี พ.ศ. 2534 ได้ปักกลด และประพฤติธุดงค์ ที่บริเวณป่าเขา [[ตำบลวังกวาง|หมู่บ้านห้วยยางทอง ต.วังกวาง]] ซึ่งไม่ไกลมากนักจากที่พักสงฆ์ป่าห้วยผึ้ง(วัดป่าสามแยก) ต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. 2538 จึงตกลงพักจำพรรษาที่ ที่พักสงฆ์วัดป่าสามแยกเพื่ออาศัยเป็นที่ปฏิบัติกิจวัตร และสั่งสอนธรรมะ ร่วมกับพระเฉลิม ภิกษุสงฆ์ จากวัดป่าบ้านตาด จากนั้นพระภิกษุสงฆ์กับทั้งนักปฏิบัติธรรมะด้วยกันนั้นต่างก็ช่วยกันดูแลบำรุงป่าเขาที่แห้งแล้ง ด้วยการเพิ่มพืชพันธุ์ไม้ให้กับ ป่าเขาบริเวณนั้นซึ่งแต่ก่อนมีสภาพเสื่อมโทรม


พระเกษม อาจิณฺณสีโล เป็นพระภิกษุสงฆ์มีชื่อเสียงมากรูปหนึ่ง ที่ปรากฏในสื่อสาธารณะในปัจจุบัน และวงการศึกษาพระไตรปิฎก ที่อ้างพระไตรปิฎกจริง ๆ ซึ่งควรเป็นวินัยของนักศึกษา ที่สำคัญในการอ้างแหล่งข้อมูลทางวิชาการ ทั้งเรื่องการให้คำสอน และวิถีทางในการปฏิบัติต่อวัตถุ พระอาจารย์เกษม เป็นภิกษุท่านแรก ในประวัติศาสตร์ศาสนาในประเทศไทย ที่สามารถทำให้นักศาสนาที่เป็นประชาชนสามารถทราบได้ ถึงเหตุผลที่แท้จริงต่อการปฏิบัติต่อ <font face="true" size="true" style="color:black">‘ วัตถุเพื่อกิจการพิพิธภัณฑ์และการประดับ ’</font>
พระเกษม อาจิณฺณสีโล เป็นพระภิกษุสงฆ์มีชื่อเสียงมากรูปหนึ่ง ที่ปรากฏในสื่อสาธารณะในปัจจุบัน และวงการศึกษาพระไตรปิฎก ที่อ้างพระไตรปิฎกจริง ๆ ซึ่งควรเป็นวินัยของนักศึกษา ที่สำคัญในการอ้างแหล่งข้อมูลทางวิชาการ ทั้งเรื่องการให้คำสอน และวิถีทางในการปฏิบัติต่อวัตถุ พระอาจารย์เกษม เป็นภิกษุท่านแรก ในประวัติศาสตร์ศาสนาในประเทศไทย ที่สามารถทำให้นักศาสนาที่เป็นประชาชนสามารถทราบได้ ถึงเหตุผลที่แท้จริงต่อการปฏิบัติต่อ <font face="true" size="true" style="color:black">‘ วัตถุเพื่อกิจการพิพิธภัณฑ์และการประดับ ’</font>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:32, 3 มกราคม 2558

พระเกษม อาจิณฺณสีโล
ไฟล์:Ajinnasilo bhikkhu..jpg
สัญชาติไทย
ชื่ออื่นหลวงปู่เกษม อาจิณฺณสีโล
อาชีพนักบวช[1]
เว็บไซต์www.samyaek.com

พระเกษม อาจิณฺณสีโล นามสกุล ดวงแพงมาต เกิดวันอาทิตย์ ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2503 (เอกสารข้อมูลศาลจังหวัดหล่มสัก ว่า 14 มีนาคม) บิดาชื่อ นาย ยอย ดวงแพงมาต (บุตรนาย ก่าน ดวงแพงมาต) มารดาชื่อ นาง เก้ง จิรโชติ (บุตรีนาย โก่ จิรโชติ) เป็นชาวจังหวัดอุดรธานี

อุบาสก เกษม ดวงแพงมาต อุปสมบทที่ วัดไชยาราม ต.เชียงพิณ อ.เมือง จ.อุดรธานี เมื่อ ปี พ.ศ. 2529 ได้รับฉายาในอุปสมบทว่า ‘ อาจิณฺณสีโล ’ เมื่ออุปสมบทแล้ว ได้จาริกท่องเที่ยวตามสถานธรรม และป่าเขาทั่วไป จนเมื่อปี พ.ศ. 2534 ได้ปักกลด และประพฤติธุดงค์ ที่บริเวณป่าเขา หมู่บ้านห้วยยางทอง ต.วังกวาง ซึ่งไม่ไกลมากนักจากที่พักสงฆ์ป่าห้วยผึ้ง(วัดป่าสามแยก) ต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. 2538 จึงตกลงพักจำพรรษาที่ ที่พักสงฆ์วัดป่าสามแยกเพื่ออาศัยเป็นที่ปฏิบัติกิจวัตร และสั่งสอนธรรมะ ร่วมกับพระเฉลิม ภิกษุสงฆ์ จากวัดป่าบ้านตาด จากนั้นพระภิกษุสงฆ์กับทั้งนักปฏิบัติธรรมะด้วยกันนั้นต่างก็ช่วยกันดูแลบำรุงป่าเขาที่แห้งแล้ง ด้วยการเพิ่มพืชพันธุ์ไม้ให้กับ ป่าเขาบริเวณนั้นซึ่งแต่ก่อนมีสภาพเสื่อมโทรม

พระเกษม อาจิณฺณสีโล เป็นพระภิกษุสงฆ์มีชื่อเสียงมากรูปหนึ่ง ที่ปรากฏในสื่อสาธารณะในปัจจุบัน และวงการศึกษาพระไตรปิฎก ที่อ้างพระไตรปิฎกจริง ๆ ซึ่งควรเป็นวินัยของนักศึกษา ที่สำคัญในการอ้างแหล่งข้อมูลทางวิชาการ ทั้งเรื่องการให้คำสอน และวิถีทางในการปฏิบัติต่อวัตถุ พระอาจารย์เกษม เป็นภิกษุท่านแรก ในประวัติศาสตร์ศาสนาในประเทศไทย ที่สามารถทำให้นักศาสนาที่เป็นประชาชนสามารถทราบได้ ถึงเหตุผลที่แท้จริงต่อการปฏิบัติต่อ ‘ วัตถุเพื่อกิจการพิพิธภัณฑ์และการประดับ ’ ด้วยหลักฐานทั้งหมดที่แจ้งต่อราชการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับ วัตถุทางพุทธศิลป์ ที่คนส่วนใหญ่ให้ความเคารพในรูปแบบของการกราบไหว้ ปัจจุบันประชาชนที่ได้รับการศึกษา ต่างก็ได้ขนานนามและเรียกเป็นอย่างอื่นแล้ว มากยิ่งขึ้น เพื่อไม่ให้เป็นการผิดต่อคำสอน[2]

พระเกษม อาจิณฺณสีโล ซึ่งต่อมาประชาชนที่ศึกษาพระไตรปิฎกแล้วมีความเข้าใจ ต่างก็ให้คำเรียกขาน และให้การยอมรับกันอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น ว่าเป็น “ อาจิณฺณสีโลภิกขุ ” เพราะสอนธรรมะตามแนวทางของพระพุทธเจ้าตามพระธรรมวินัย ซึ่งปรากฏในพระไตรปิฎก และในเรื่องวัตถุก็มีคำสอนเช่นเดียวกันกับพระพุทธทาสภิกขุ ขณะที่การเผยแผ่ปรากฏประวัติและคำสอนอย่างมาก ในวิดีโอ ของช่อง ยูทูบ (YouTube) ประวัติ พระเกษม อาจิณฺณสีโล นี้กระทำเมื่อเจ้าของประวัติยังมีชีวิตอยู่ ประวัติทั้งหมดอยู่ในระหว่าง การค้นหาและรวบรวมข้อมูล ที่มีปรากฏใน ข่าว คำพิพากษา ตลอดถึงแถลงการณ์ ที่เป็นคำสอน และการแสดงธรรม ในสื่อสาธารณะ[3]ในปัจจุบัน ทั้งเรื่องการให้คำสอน และวิถีทางในการปฏิบัติต่อวัตถุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับ วัตถุทางพุทธศิลป์ ที่คนส่วนใหญ่ให้ความเคารพและนิยมกราบไหว้ พระเกษม อาจิณฺณสีโล ซึ่งประชาชนให้คำขนานนาม และให้ความเคารพกันอย่างกว้างขวางแล้วนั้น เป็นพระสงฆ์ที่ปรากฏชัดถึงประวัติความเป็นมาแน่นอน และมีมากที่ปรากฏในสื่ออย่างสำคัญ[1][3][4] เช่น รายการวิทยุโทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์อินเตอร์เน็ต แต่คนส่วนมากนิยมคำสอนแบบเก่า และแบบโบราณทั่วไป

แหล่งข้อมูลอ้างอิง