ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศรอนงค์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
'''ศรอนงค์''' เป็นละครประกอบเพลงวิจิตรตระการตา บทประพันธ์ของ [[ขุนวิจิตรมาตรา]]
'''ศรอนงค์''' เป็นละครประกอบเพลงวิจิตรตระการตา บทประพันธ์ของ [[ขุนวิจิตรมาตรา]]


แสดงโดยคณะ "ละครเฉลิมกรุง" ซึ่ง[[พระนางเธอลักษมีลาวัณ]] พระมเหสีใน[[รัชกาลที่ 6]] ทรงรื้อฟื้นนำคณะปรีดาลัย (ของ[[กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] พระบิดา) มาฝึกซ้อมเปิดการแสดง ที่ [[ศาลาเฉลิมกรุง]] เมื่อ พ.ศ. 2486 เพื่อบำรุงขวัญผู้คนในยาม[[สงครามมหาเอเซียบูรพา]]ที่การมหรสพทั้งหลายต้องหยุดชะงักลงมีแต่ความเงียบเหงาทั้งเมือง <ref>ขุนวิจิตรมาตรา ,หลักหนังไทย ,หอภาพยนตร์ชาติ(องค์การมหาชน)2555 ISBN:978-616-543-150-7 หน้า 206</ref>
แสดงโดยคณะ "ละครเฉลิมกรุง" ซึ่ง[[พระนางเธอลักษมีลาวัณ]] พระมเหสีใน[[รัชกาลที่ 6]] ทรงรื้อฟื้นนำชาวละครคณะปรีดาลัย ของ [[กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] พระบิดา มาฝึกซ้อมเปิดการแสดง ที่ [[ศาลาเฉลิมกรุง]] เมื่อ พ.ศ. 2486 เพื่อบำรุงขวัญผู้คนในยาม[[สงครามมหาเอเซียบูรพา]]ที่การมหรสพทั้งหลายต้องหยุดชะงักลงมีแต่ความเงียบเหงาทั้งเมือง <ref>ขุนวิจิตรมาตรา ,หลักหนังไทย ,หอภาพยนตร์ชาติ(องค์การมหาชน)2555 ISBN:978-616-543-150-7 หน้า 206</ref>


มีความคิดริเริ่มในการนำท่าระบำของฝรั่งมาผสมกับท่าระบำไทย และใช้เครื่องฝรั่งสากลวงใหญ่บรรเลงตลอดเรื่อง <ref>อารีย์ นักดนตรี ,โลกมายาของอารีย์ ,กายมารุต 2546 ISBN:974-91018-4-7 หน้า 217</ref>นำแสดงโดย ม.ร.ว.ฤดีมล ชมพูนุช <ref>อารีย์ นักดนตรี ,หน้า 217</ref>พ.ศ. 2486
มีความคิดริเริ่มในการนำท่าระบำของฝรั่งมาผสมกับท่าระบำไทย และใช้เครื่องฝรั่งสากลวงใหญ่บรรเลงตลอดเรื่อง <ref>อารีย์ นักดนตรี ,โลกมายาของอารีย์ ,กายมารุต 2546 ISBN:974-91018-4-7 หน้า 217</ref>นำแสดงโดย ม.ร.ว.ฤดีมล ชมพูนุช<ref>อารีย์ นักดนตรี ,หน้า 217</ref>


ละครโทรทัศน์แนวเพลงเรื่องแรกของไทยทีวี[[ช่อง 4]] นำแสดงโดย [[ฉลอง สิมะเสถียร]] คู่กับ [[อารีย์ นักดนตรี]] พ.ศ. 2502 โดยมี [[กำธร สุวรรณปิยะศิริ]] ปรากฏตัวครั้งแรกทางทีวีตอนท้ายเรื่องกับบทพูดสั้นๆ <ref>อารีย์ นักดนตรี ,หน้า 219</ref>ซึ่งต่อมาเป็นพระเอกเมื่อละครกลับมาแสดงใหม่ พ.ศ. 2507 [[มนัส รามโยธิน]] นักร้องประจำวงดนตรีของคณะละครปรีดาลัย ร่วมขับร้องทั้งละครเวทีและละครทีวี
ต่อมาเป็นละครโทรทัศน์แนวเพลงเรื่องแรกของไทยทีวี[[ช่อง 4]] นำแสดงโดย [[ฉลอง สิมะเสถียร]] คู่กับ [[อารีย์ นักดนตรี]] พ.ศ. 2502 โดยมี [[กำธร สุวรรณปิยะศิริ]] ซึ่งเพิ่งเข้ามาทำงานที่สถานี ปรากฏตัวครั้งแรกตอนท้ายเรื่องกับบทพูดสั้นๆ <ref>อารีย์ นักดนตรี ,หน้า 219</ref>และได้เป็นพระเอกเมื่อละครกลับมาแสดงใหม่ พ.ศ. 2507
นอกจากนี้ยังมี [[มนัส รามโยธิน]] อดีตนักร้องประจำวงดนตรีของคณะละครปรีดาลัยและ[[วงดนตรีกรมโฆษณาการ]] (รุ่นที่ 2)<ref>หนังสือ 70 ปีกรมประชาสัมพันธ์,สำนักนายกรัฐมนตรี,2546 หน้า 98</ref> ร่วมขับร้องทั้งละครเวทีและละครทีวีด้วย


==เพลง==
==เพลง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:52, 27 กรกฎาคม 2556

ศรอนงค์
ดนตรีน.ต.โพธิ์ ชูประดิษฐ์
คำร้องกาญจนาคพันธุ์
หนังสือขุนวิจิตรมาตรา /กาญจนาคพันธุ์
งานสร้าง2486 ละครเฉลิมกรุง (คณะปรีดาลัย)
2502 ละครทีวี ช่อง 4
2507 ละครทีวี ช่อง 4
2554 คอนเสิร์ต ตำนานเพลงรักบางขุนพรหม

ศรอนงค์ เป็นละครประกอบเพลงวิจิตรตระการตา บทประพันธ์ของ ขุนวิจิตรมาตรา

แสดงโดยคณะ "ละครเฉลิมกรุง" ซึ่งพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระมเหสีในรัชกาลที่ 6 ทรงรื้อฟื้นนำชาวละครคณะปรีดาลัย ของ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ พระบิดา มาฝึกซ้อมเปิดการแสดง ที่ ศาลาเฉลิมกรุง เมื่อ พ.ศ. 2486 เพื่อบำรุงขวัญผู้คนในยามสงครามมหาเอเซียบูรพาที่การมหรสพทั้งหลายต้องหยุดชะงักลงมีแต่ความเงียบเหงาทั้งเมือง [1]

มีความคิดริเริ่มในการนำท่าระบำของฝรั่งมาผสมกับท่าระบำไทย และใช้เครื่องฝรั่งสากลวงใหญ่บรรเลงตลอดเรื่อง [2]นำแสดงโดย ม.ร.ว.ฤดีมล ชมพูนุช[3]

ต่อมาเป็นละครโทรทัศน์แนวเพลงเรื่องแรกของไทยทีวีช่อง 4 นำแสดงโดย ฉลอง สิมะเสถียร คู่กับ อารีย์ นักดนตรี พ.ศ. 2502 โดยมี กำธร สุวรรณปิยะศิริ ซึ่งเพิ่งเข้ามาทำงานที่สถานี ปรากฏตัวครั้งแรกตอนท้ายเรื่องกับบทพูดสั้นๆ [4]และได้เป็นพระเอกเมื่อละครกลับมาแสดงใหม่ พ.ศ. 2507

นอกจากนี้ยังมี มนัส รามโยธิน อดีตนักร้องประจำวงดนตรีของคณะละครปรีดาลัยและวงดนตรีกรมโฆษณาการ (รุ่นที่ 2)[5] ร่วมขับร้องทั้งละครเวทีและละครทีวีด้วย

เพลง

  1. ศรอนงค์ - นักแสดงนำร้องคู่
  2. ระบำขุนพลแก้ว - มนัส รามโยธิน นำหมู่
  3. ระบำม้าแก้ว/มโนมัย - มนัส รามโยธิน นำหมู่
  4. ระบำนางแก้ว - หมู่นักร้องหญิง

(ฉบับ พ.ศ. 2507 เพิ่มอีก 3 เพลง)

  1. รำพึงรัก - พระเอก
  2. รักแน่หรือ - นางเอก
  3. เพลงระบำ

เพลงฉบับละครโทรทัศน์ช่อง 4 จัดทำโดย อารีย์ นักดนตรี ในรูปแบบแผ่นเสียงลองเพลย์ ราว พ.ศ. 2507 ปัจจุบันเผยแพร่เป็นซีดี

อ้างอิง

  1. ขุนวิจิตรมาตรา ,หลักหนังไทย ,หอภาพยนตร์ชาติ(องค์การมหาชน)2555 ISBN:978-616-543-150-7 หน้า 206
  2. อารีย์ นักดนตรี ,โลกมายาของอารีย์ ,กายมารุต 2546 ISBN:974-91018-4-7 หน้า 217
  3. อารีย์ นักดนตรี ,หน้า 217
  4. อารีย์ นักดนตรี ,หน้า 219
  5. หนังสือ 70 ปีกรมประชาสัมพันธ์,สำนักนายกรัฐมนตรี,2546 หน้า 98