ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไม้กวาดทางมะพร้าว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ทำไมไม่ศึกษามาตรฐานรูปแบบบทความ
ไม่มีตาดที่แปลว่าไม้กวาดในพจนานุกรม ลดลงมาเป็นชื่อรอง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Soom Thai Broom.JPG|thumb|200px|right|การถักและรัดไม้กวาดกับปลายไม้ เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว]]
'''ไม้ตาด''' หรือไม้กวาดทาง[[มะพร้าว]] คือภูมิปัญญาพื้นถิ่นที่ใช้แก้ปัญหาความสกปรกที่เกิดจากเศษมูลฝอยชนิดต่างๆที่ไม่เป็นที่ต้องการ และกวาดเก็บยาก หากใช้ไม้กวาด[[ดอกหญ้า]] หรือใช้ไม้กวาด[[หญ้าขัดมอญ]]แบบทั่วไป ไม่สะดวกนัก และต้องใช้เวลานานในการจัดการเก็บกวาด จึงมีการประดิษฐ์ตาดขึ้น ตาดเป็นสิ่งซึ่งประดิษฐ์จากทางมะพร้าว''(บางแห่งนิยมใช้ทาง[[ตาล]])'' มามัดรวมกันบนปลายด้ามไม้ไผ่ลักษณะลำทวน ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณตามชอบใจ''(ประมาณ 1 นิ้วฟุต)'' ถักและร้อยรัดประกอบกันให้แน่นหนา จนได้ไม้กวาดสำหรับกวาดลานอเนกประสงค์ที่มีบริเวณกว้าง ใช้แทนไม้กวาดชนิดเดิมที่มีขนาดเล็ก
'''ไม้กวาดทาง[[มะพร้าว]]''' หรือชื่อในบางท้องถิ่นว่า '''ตาด''' คือภูมิปัญญาพื้นถิ่นที่ใช้แก้ปัญหาความสกปรกที่เกิดจากเศษมูลฝอยชนิดต่างๆที่ไม่เป็นที่ต้องการ และกวาดเก็บยาก หากใช้ไม้กวาด[[ดอกหญ้า]] หรือใช้ไม้กวาด[[หญ้าขัดมอญ]]แบบทั่วไป ไม่สะดวกนัก และต้องใช้เวลานานในการจัดการเก็บกวาด จึงมีการประดิษฐ์ตาดขึ้น ตาดเป็นสิ่งซึ่งประดิษฐ์จากทางมะพร้าว''(บางแห่งนิยมใช้ทาง[[ตาล]])'' มามัดรวมกันบนปลายด้ามไม้ไผ่ลักษณะลำทวน ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณตามชอบใจ''(ประมาณ 1 นิ้วฟุต)'' ถักและร้อยรัดประกอบกันให้แน่นหนา จนได้ไม้กวาดสำหรับกวาดลานอเนกประสงค์ที่มีบริเวณกว้าง ใช้แทนไม้กวาดชนิดเดิมที่มีขนาดเล็ก
การใช้ไม้กวาดทางมะพร้าว พบมากในกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นพระธุดงค์ เพราะต้องอาศัยอยู่ในป่าและแมกไม้ที่รก จึงต้องปัดกวาดมูลฝอยที่เกิดจากขยะใบไม้ด้วยไม้กวาดประเภทนี้
การใช้ไม้กวาดทางมะพร้าว พบมากในกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นพระธุดงค์ เพราะต้องอาศัยอยู่ในป่าและแมกไม้ที่รก จึงต้องปัดกวาดมูลฝอยที่เกิดจากขยะใบไม้ด้วยไม้กวาดประเภทนี้
อุปกรณ์และวัสดุในการทำ
อุปกรณ์และวัสดุในการทำ
[[File:Soom Thai Broom.JPG|thumb|200px|right|การถักและรัดไม้กวาดกับปลายไม้ เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว]]
* ทางมะพร้าว ประมาณ 110-150 ทาง สำหรับ 1 ชั้น
* ทางมะพร้าว ประมาณ 110-150 ทาง สำหรับ 1 ชั้น
* ด้ามไม้ไผ่ความยาวประมาณความสูงผู้ใช้ หรือน้อยกว่าเล็กน้อย
* ด้ามไม้ไผ่ความยาวประมาณความสูงผู้ใช้ หรือน้อยกว่าเล็กน้อย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:41, 17 มิถุนายน 2556

การถักและรัดไม้กวาดกับปลายไม้ เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว

ไม้กวาดทางมะพร้าว หรือชื่อในบางท้องถิ่นว่า ตาด คือภูมิปัญญาพื้นถิ่นที่ใช้แก้ปัญหาความสกปรกที่เกิดจากเศษมูลฝอยชนิดต่างๆที่ไม่เป็นที่ต้องการ และกวาดเก็บยาก หากใช้ไม้กวาดดอกหญ้า หรือใช้ไม้กวาดหญ้าขัดมอญแบบทั่วไป ไม่สะดวกนัก และต้องใช้เวลานานในการจัดการเก็บกวาด จึงมีการประดิษฐ์ตาดขึ้น ตาดเป็นสิ่งซึ่งประดิษฐ์จากทางมะพร้าว(บางแห่งนิยมใช้ทางตาล) มามัดรวมกันบนปลายด้ามไม้ไผ่ลักษณะลำทวน ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณตามชอบใจ(ประมาณ 1 นิ้วฟุต) ถักและร้อยรัดประกอบกันให้แน่นหนา จนได้ไม้กวาดสำหรับกวาดลานอเนกประสงค์ที่มีบริเวณกว้าง ใช้แทนไม้กวาดชนิดเดิมที่มีขนาดเล็ก

การใช้ไม้กวาดทางมะพร้าว พบมากในกลุ่มผู้ใช้ที่เป็นพระธุดงค์ เพราะต้องอาศัยอยู่ในป่าและแมกไม้ที่รก จึงต้องปัดกวาดมูลฝอยที่เกิดจากขยะใบไม้ด้วยไม้กวาดประเภทนี้

อุปกรณ์และวัสดุในการทำ

  • ทางมะพร้าว ประมาณ 110-150 ทาง สำหรับ 1 ชั้น
  • ด้ามไม้ไผ่ความยาวประมาณความสูงผู้ใช้ หรือน้อยกว่าเล็กน้อย
  • ลวดและแถบผ้าสำหรับพันปลายไม้
  • เชือก มีด ไม้ขีด (ใช้ลนปลายเชือกไม่ให้รุ่ย) และคีมมัดลวด

สำหรับผู้ที่ชำนาญแล้ว หากมัดปลายไม้ได้แน่น ก็ไม่ต้องใช้ตะปูหรือลวด การถักและรัดเชือกทำเพื่อความแน่นหนา จะวนไปทางซ้ายหรือขวาก็ได้ ตามถนัด

วิธีทำอย่างคร่าว ๆ

  1. พันและมัดปลายไม้
  2. มัดทางมะพร้าวเป็นกำเล็กๆด้วยเงื่อนที่ใช้มัดรวมกัน
  3. พันทางมะพร้าวที่ถักแล้วรอบด้าม แล้วถักเป็นลายขัดล๊อกติดกับด้าม ทำสองชั้น