ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำสรรพนาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
[[หมวดหมู่:ชนิดของคำ]]
[[หมวดหมู่:ชนิดของคำ]]
{{โครงภาษา}}
{{โครงภาษา}}

[[af:Voornaamwoord]]
[[als:Pronomen]]
[[ar:ضمير (لغة)]]
[[ast:Pronome]]
[[az:Əvəzlik]]
[[ba:Алмаш (һүҙ төркөмө)]]
[[bg:Местоимение]]
[[br:Raganv]]
[[bs:Zamjenice]]
[[ca:Pronom]]
[[ce:ЦIерметдош]]
[[ch:Klå'an]]
[[cs:Zájmeno]]
[[cv:Местоимени]]
[[da:Stedord]]
[[de:Pronomen]]
[[el:Αντωνυμία]]
[[en:Pronoun]]
[[eo:Pronomo]]
[[es:Pronombre]]
[[et:Asesõna]]
[[eu:Izenordain]]
[[fa:ضمیر]]
[[fi:Pronomini]]
[[fr:Pronom]]
[[fy:Foarnamwurd]]
[[gd:Riochdair]]
[[gl:Pronome]]
[[he:כינוי גוף]]
[[hi:सर्वनाम]]
[[hr:Zamjenice]]
[[hu:Névmás]]
[[id:Pronomina]]
[[is:Fornafn]]
[[it:Pronome]]
[[ja:代名詞]]
[[jv:Tembung sesulih]]
[[ka:ნაცვალსახელი]]
[[kk:Есімдік]]
[[ko:대명사]]
[[ku:Cînav]]
[[ky:Жактама]]
[[la:Pronomen]]
[[li:Pronoom]]
[[ln:Likitana]]
[[lt:Įvardis]]
[[lv:Vietniekvārds]]
[[mhr:Олмештышмут]]
[[mk:Заменка]]
[[ml:സർവ്വനാമം]]
[[mr:सर्वनाम]]
[[nah:Tlapatiliztōcāitl]]
[[nds:Pronomen]]
[[nl:Voornaamwoord]]
[[nn:Pronomen]]
[[no:Pronomen]]
[[os:Номивæг]]
[[pl:Zaimek]]
[[pnb:پڑناں]]
[[pt:Pronome]]
[[qu:Sutip rantin]]
[[ro:Pronume]]
[[ru:Местоимение]]
[[rue:Містоназывникы]]
[[se:Pronomen]]
[[sh:Zamjenica]]
[[simple:Pronoun]]
[[sk:Zámeno]]
[[sl:Zaimek]]
[[sq:Përemri]]
[[sr:Заменице]]
[[sv:Pronomen]]
[[ta:ஆங்கில இடப் பெயர்ச்சொல்]]
[[te:సర్వనామము]]
[[tl:Panghalip]]
[[tr:Zamir]]
[[tt:Алмашлык]]
[[uk:Займенник]]
[[vi:Đại từ]]
[[wa:Prono]]
[[war:Imbesngaran]]
[[yi:פראנאם]]
[[zh:代詞]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:47, 8 มีนาคม 2556

ใบความรู้เรื่อง คำสรรพนาม คำสรรพนาม เป็นคำที่ใช้แทนคำนาม เพื่อจะได้ไม่ต้องใช้คำนามซ้ำกันไปมาในการพูดหรือเขียน คำสรรพนาม แบ่งออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่

1.บุรุษสรรพนาม หรือ สรรพนามใช้แทนบุคคล มี 3 ประเภท ได้แก่
	สรรพนามบุรุษที่ 1 เป็นคำที่ใช้แทนตัวผู้พูดหรือผู้เขียน เช่น ฉัน ผม ข้าพเจ้า ดิฉัน
	สรรพนามบุรุษที่ 2 เป็นคำที่ใช้แทนตัวผู้ฟัง หรือผู้อ่าน เช่น ท่าน เธอ คุณ แก
	สรรพนามบุรุษที่ 3 เป็นคำใช้แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง เช่น เขา มัน พระองค์


2.ปฤจฉาสรรพนาม (อ่านว่า ปริด – ฉา – สับ – พะ – นาม) หรือ สรรพนามแสดงคำถาม เป็นคำแทนคำนามที่ใช้เป็นคำถาม ได้แก่คำว่า ใคร อะไร ไหน เช่น ใครมาหาป้า เธอซื้ออะไรมา


3.วิภาคสรรพนาม หรือ สรรพนามชี้ซ้ำ มีคำว่า บ้าง ต่าง กัน เช่น ต่างคนต่างชอบ ขอฉันเล่นบ้าง สองคนนั้นไปเที่ยวกัน


4.อนิยมสรรพนาม (อ่านว่า อะ – นิ – ยะ – มะ – สับ – พะ – นาม) หรือ สรรพนามบอกความไม่เจาะจง จะมีคำว่า ใดๆ ใครๆ สิ่งใด ผู้ใด เช่น ใครๆ ก็มาเที่ยวทะเล ใดๆในโลกนี้ล้วนอนิจจัง


5.นิยมสรรพนาม (อ่านว่า นิ – ยะ – มะ – สับ – พะ – นาม) หรือ สรรพนามบอกการชี้ระยะ จะมีคำว่า นี่ นี้ นั่น นั้น โน่น โน้น บอกความใกล้ ไกลออกไปตามลำดับ เช่น นี่ของฉัน นั่นของเธอ โน่นของเขา


6.ประพันธรรพนาม หรือ สรรพนามเชื่องประโยค จะมีคำว่า ที่ ซึ่ง อัน ทำหน้าที่แทนคำนามข้างหน้า และเชื่อมคำนามนั้นกับประโยคที่ตามมา เช่น ฉันกินขนมที่คุณแม่ซื้อให้ เพชรที่สวยงามย่อมมีราคาสูง

  • คำว่า ใคร ไหน อะไร ที่เป็น ปฤจฉาสรรพนามต้องเป็นคำที่ใช้แทนคำนามและไม่ได้วางอยู่หลังคำนามถ้าเรานำคำว่า ไหน อะไร วางไว้หลังคำนาม คำดังกล่าวจะทำหน้าที่เป็นคำวิเศษณ์ เช่น ผู้หญิงคนไหนเป็นดารา*
  • คำว่า นี่ นี้ นั่น นั้น โน่น โน้น ที่เป็นนิยมสรรพนามจะต้องเป็นคำที่ใช้แทนคำนามเท่านั้น ไม่ได้วางอยู่หลังคำนามเพราะถ้า หากวางอยู่หลังคำนามคำดังกล่าวจะทำหน้าที่เป็นคำวิเศษณ์*