ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทียนนกแก้ว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ซาลาเปา หมูแดง (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{taxobox |regnum = Plantae | image = ImpatiensPsittacinaHooker.jpg | image_caption = Parrot Flower |unranked_divisio = Angiosperms |unranked_classis = [[Eudico...
 
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ตารางจำแนกพันธุ์
{{taxobox
|regnum = [[Plantae]]
|regnum = [[Plantae]]
| image = ImpatiensPsittacinaHooker.jpg
| image = ImpatiensPsittacinaHooker.jpg
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
|binomial_authority = [[Joseph Dalton Hooker|Hook.f.]]
|binomial_authority = [[Joseph Dalton Hooker|Hook.f.]]
|}}
|}}
'''ดอกเทียนนกแก้ว''' ({{lang-en|Parrot Flower }}) ชื่อวิทยาศาสตร์ของเทียนนกแก้ว({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Impatiens psittacina Hk. f. }}) อยู่ในวงศ์ BALSAMINACEAE อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใดๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มของต้น[[เทียน]] มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือน[[นกแก้ว]]ที่โดน[[แมว]]กัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนก[[แก้ว]] จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว
'''ดอกเทียนนกแก้ว''' ({{lang-en|Parrot Flower}}) {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Impatiens psittacina Hk. f. }} อยู่ในวงศ์ BALSAMINACEAE อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มของต้น[[เทียน]] มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือน[[นกแก้ว]]ที่โดน[[แมว]]กัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว
=='''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''==
=='''ลักษณะทางพฤกษศาสตร์'''==


บรรทัด 39: บรรทัด 39:
===แหล่งกำเนิดและแพร่กระจาย===
===แหล่งกำเนิดและแพร่กระจาย===
พบในดอยหลวงเชียงดาวที่[[ประเทศไทย]]
พบในดอยหลวงเชียงดาวที่[[ประเทศไทย]]
==='''ประโยชน์'''===
===ประโยชน์===
เป็นพืชหายาก สวยงาม ได้ชมแล้วชื่นใจ
เป็นพืชหายาก สวยงาม ได้ชมแล้วชื่นใจ
=='''ความงามไร้ที่ติ'''==
==ความงามไร้ที่ติ==
เหตุที่กล่าวว่าเป็นพืชที่สูงค่า เนื่องจากการพบเจอนั้นค่อนข้างลำบาก และสภาพแวดล้อม อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ สามารถพบเทียนนกแก้วได้ที่ดอยหลวงเชียงดาว ทาง[[ภาคเหนือ]]ของไทย ซึ่งบริเวณมีลักษณะเป็นเทือกเขา ซึ่งเทือกเขาเหล่านี้ประกอบไปด้วยยอดเขาสูงหลายยอด ยอดเขาที่สูงที่สุดเรียกว่าดอยหลวงเชียงดาว มีความสูงจากระดับน้ำ[[ทะเล]] 2,220 เมตรครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง ตำบลเมืองงาย ตำบลเมืองคลง ตำบลเชียงดาวและตำบลแม่น จังหวัด[[เชียงใหม่]] การเดินทางไปดูดอกเทียนนกแก้วนั้นจะต้องเดินไปตามป่า ขึ้นไปยังยอดดอย ซึ่งเป็นเป็นเทือกเขาหินปูน มีแนวทอดยาวรวมทั้งพืชพันธ์ดอกไม้ประเภทกึ่งอัลไพน์ เป็นพืชเฉพาะถิ่น หายากมีอยู่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคมดอกไม้ชนิดแรกที่จะเจอคือเทียนนกแก้วที่มีให้เห็นเฉพาะช่วงที่มีฝนหรือมีความชื้นสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบ ชมพูพิมพ์ใจ นางจอย หรีดเชียงดาว ฟองหินเหลือง ฟ้าคราม เหยื่อจง ขาวปั้น เป็นต้น
เหตุที่กล่าวว่าเป็นพืชที่สูงค่า เนื่องจากการพบเจอนั้นค่อนข้างลำบาก และสภาพแวดล้อม อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ สามารถพบเทียนนกแก้วได้ที่[[ดอยหลวงเชียงดาว]] ทาง[[ภาคเหนือ]]ของไทย ซึ่งบริเวณมีลักษณะเป็นเทือกเขา ซึ่งเทือกเขาเหล่านี้ประกอบไปด้วยยอดเขาสูงหลายยอด ยอดเขาที่สูงที่สุดเรียกว่าดอยหลวงเชียงดาว มีความสูงจาก[[ระดับน้ำทะเล]] 2,220 เมตรครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง ตำบลเมืองงาย ตำบลเมืองคลง ตำบลเชียงดาวและตำบลแม่น จังหวัด[[เชียงใหม่]] การเดินทางไปดูดอกเทียนนกแก้วนั้นจะต้องเดินไปตามป่า ขึ้นไปยังยอดดอย ซึ่งเป็นเป็นเทือกเขาหินปูน มีแนวทอดยาวรวมทั้งพืชพันธ์ดอกไม้ประเภทกึ่งอัลไพน์ เป็นพืชเฉพาะถิ่น หายากมีอยู่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคมดอกไม้ชนิดแรกที่จะเจอคือเทียนนกแก้วที่มีให้เห็นเฉพาะช่วงที่มีฝนหรือมีความชื้นสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบ ชมพูพิมพ์ใจ นางจอย หรีดเชียงดาว ฟองหินเหลือง ฟ้าคราม เหยื่อจง ขาวปั้น เป็นต้น
=='''อ้างอิง'''==
==อ้างอิง==
{{reflist}}
{{reflist}}


=='''แหล่งข้อมูลอื่น'''==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.ipni.org/ipni/idPlantNameSearch.do?id=374288-1 Botanical Authorship]
*[http://www.ipni.org/ipni/idPlantNameSearch.do?id=374288-1 Botanical Authorship]
*[http://www.snopes.com/photos/natural/parrotflower.asp Parrot Flower]
*[http://www.snopes.com/photos/natural/parrotflower.asp Parrot Flower]
บรรทัด 56: บรรทัด 56:
[[Category:Impatiens|psittacina]]
[[Category:Impatiens|psittacina]]
[[Category:Flora of Thailand]]
[[Category:Flora of Thailand]]

[[en:Impatiens psittacina]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:17, 22 กันยายน 2555

เทียนนกแก้ว
Parrot Flower
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Asterids
อันดับ: Ericales
วงศ์: Balsaminaceae
สกุล: Impatiens
สปีชีส์: I.  psittacina
ชื่อทวินาม
Impatiens psittacina
Hook.f.

ดอกเทียนนกแก้ว (อังกฤษ: Parrot Flower) ชื่อวิทยาศาสตร์: Impatiens psittacina Hk. f. อยู่ในวงศ์ BALSAMINACEAE อันดับ Ericales เป็นดอกไม้ที่แปลกตามาก เป็นพรรณไม้เฉพาะถิ่นของไทย หาไม่ได้จากที่ใด ๆ ในโลก จัดอยู่ในกลุ่มของต้นเทียน มีรูปทรงของดอกที่สวยงามเหมือนนกแก้วที่โดนแมวกัดไปครึ่งตัว เราเรียกชื่อตามลักษณะรูปทรงว่า ดอกเทียนนกแก้ว จัดอยู่ในกลุ่มพืชล้มลุกและเป็นพรรณไม้เมืองหนาว

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น

ลำต้นอวบน้ำ สูง 0.5-1.5 เมตร ไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี สูง 30-150 ซม. ลำต้นกลวงและเป็นข้อปล้อง แตกกิ่งก้านมากมาย ลำต้นอ่อนสีม่วงอมแดงและอวบน้ำ ลำต้นแก่สีเขียวอ่อนสลับสีเขียวแก่

ใบ

ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเวียนรอบลำต้นเป็นเกลียว รูปใบหอก หรือรูปไข่กว้าง กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-6 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นหนามแหลมสั้น โคนใบมน ผิวใบเรียบ

ดอก

ออกดอกเดี่ยวตามก้านใบและปลายยอด ดอกมีรูปร่างคล้ายนกแก้วกำลังกางปีกบินดูสวยงามสะดุดตา ขนาดดอก 2-3 ซม. ดอกสีม่วงแกมแดงและขาว หรือสีชมพูเข้มแกมแดงและขาว กลางดอกมีแต้ม สีเหลือง ดอกเป็นรูปหลอดกว้าง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สีชมพูอมขาวและมีจุดประ สีม่วงแดง กลีบบนรูปขอบขนานมีขนาดยาวที่สุด ปลายกลีบแยกลึกเป็น 2 แฉก กลีบข้าง 2 กลีบแผ่ เป็นปีกแคบ กลีบล่างแผ่เป็นปีกกว้าง ปลายกลีบเว้าเป็น 2 พู เกสรตัวผู้มัดรวมกันลักษณะม้วนงอ กลีบรองกลีบดอกเป็นรูปถ้วยปากบาน ส่วนโค้งเป็นถุง มีงวงน้ำหวานขนาดสั้นอยู่ท้ายสุด บริเวณที่ติด กับก้านดอกพองออกเป็นปีกโค้งกลม ๆ 2 ปีก ก้านดอกยาวได้ถึง 6 ซม. ออกดอกในราวเดือน สิงหาคมถึงต้นเดือนธันวาคม

ผล

เป็นฝักยาวรูปกระสวย มีเมล็ดเป็นจำนวนมาก แหล่งที่พบในไทย : เป็นพันธุ์ไม้หายากชนิดหนึ่ง พบขึ้นตามใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ในป่าดิบเขาหรือบริเวณโขดหินปูนที่อยู่สูง จากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 1,500-1,800 เมตร และพบได้เพียงที่เดียวคือที่ดอยหลวงเชียงดาว ดอกจะบานราวเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน คนทั่วไปจึงไม่มีโอกาสได้เห็นเพราะอยู่บนภูเขาสูง การไปชมนั้นจะต้องเดินขึ้นภูเขาไปชม และดอกเทียนนกแก้วมักขึ้นในพื้นที่ที่เป็นโขดหิน ใกล้ ๆกับต้นหานช้างร้องที่เป็นพิษ

แหล่งกำเนิดและแพร่กระจาย

พบในดอยหลวงเชียงดาวที่ประเทศไทย

ประโยชน์

เป็นพืชหายาก สวยงาม ได้ชมแล้วชื่นใจ

ความงามไร้ที่ติ

เหตุที่กล่าวว่าเป็นพืชที่สูงค่า เนื่องจากการพบเจอนั้นค่อนข้างลำบาก และสภาพแวดล้อม อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ สามารถพบเทียนนกแก้วได้ที่ดอยหลวงเชียงดาว ทางภาคเหนือของไทย ซึ่งบริเวณมีลักษณะเป็นเทือกเขา ซึ่งเทือกเขาเหล่านี้ประกอบไปด้วยยอดเขาสูงหลายยอด ยอดเขาที่สูงที่สุดเรียกว่าดอยหลวงเชียงดาว มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 2,220 เมตรครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง ตำบลเมืองงาย ตำบลเมืองคลง ตำบลเชียงดาวและตำบลแม่น จังหวัดเชียงใหม่ การเดินทางไปดูดอกเทียนนกแก้วนั้นจะต้องเดินไปตามป่า ขึ้นไปยังยอดดอย ซึ่งเป็นเป็นเทือกเขาหินปูน มีแนวทอดยาวรวมทั้งพืชพันธ์ดอกไม้ประเภทกึ่งอัลไพน์ เป็นพืชเฉพาะถิ่น หายากมีอยู่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคมดอกไม้ชนิดแรกที่จะเจอคือเทียนนกแก้วที่มีให้เห็นเฉพาะช่วงที่มีฝนหรือมีความชื้นสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบ ชมพูพิมพ์ใจ นางจอย หรีดเชียงดาว ฟองหินเหลือง ฟ้าคราม เหยื่อจง ขาวปั้น เป็นต้น

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น