ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซูเปอร์แบนตัมเวท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ซูเปอร์แบนตั้มเวท''' (Superbantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยที่อยู่ระหว่างรุ่น[[แบนตั้มเวท]]กับรุ่น[[เฟเธอร์เวท]] โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักไม่เกิน 122 ปอนด์ (55 [[กิโลกรัม]]) สถาบันแรกที่ก่อตั้งรุ่นนี้ขึ้นมา คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี [[พ.ศ. 2519]] โดยเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า ซูเปอร์แบนตั้มเวท ทางสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) จะเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า จูเนียร์เฟเธอร์เวท (Juniorfeatherweight)
'''ซูเปอร์แบนตั้มเวท''' (Superbantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยที่อยู่ระหว่างรุ่น[[เเบนตั้มเวท]]กับรุ่น[[เฟเธอร์เวท]] โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักไม่เกิน 122 ปอนด์ (55 [[กิโลกรัม]]) สถาบันแรกที่ก่อตั้งรุ่นนี้ขึ้นมา คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี [[พ.ศ. 2519]] โดยเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า ซูเปอร์แบนตั้มเวท ทางสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) จะเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า จูเนียร์เฟเธอร์เวท (Juniorfeatherweight)


สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้ มีทั้งหมด 3 คน ได้แก่ [[สามารถ พยัคฆ์อรุณ]], [[ยอดดำรงค์ ศิษย์ยอดธง]] และ [[สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์]]
สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้ มีทั้งหมด 3 คน ได้แก่ [[สามารถ พยัคฆ์อรุณ]], [[ยอดดำรงค์ ศิษย์ยอดธง]] และ [[สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:47, 5 มีนาคม 2550

ซูเปอร์แบนตั้มเวท (Superbantamweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยที่อยู่ระหว่างรุ่นเเบนตั้มเวทกับรุ่นเฟเธอร์เวท โดยนักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักไม่เกิน 122 ปอนด์ (55 กิโลกรัม) สถาบันแรกที่ก่อตั้งรุ่นนี้ขึ้นมา คือ สภามวยโลก (WBC) ในปี พ.ศ. 2519 โดยเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า ซูเปอร์แบนตั้มเวท ทางสมาคมมวยโลก (WBA) และสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) จะเรียกชื่อรุ่นนี้ว่า จูเนียร์เฟเธอร์เวท (Juniorfeatherweight)

สำหรับนักมวยไทยที่เคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้ มีทั้งหมด 3 คน ได้แก่ สามารถ พยัคฆ์อรุณ, ยอดดำรงค์ ศิษย์ยอดธง และ สมศักดิ์ ศิษย์ชัชวาลย์