ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไร้อาการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


ภาวะการเจ็บป่วยโดยไม่มีอาการนั้นมีความสำคัญ เพราะมีการดำเนินโรคหลายแบบ และอาจจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาต่างๆ กัน เช่น อาจมีอาการมากขึ้นในภายหลัง จึงต้องเฝ้าระวัง, อาจหายได้เอง หรือเป็นภาวะที่ไม่มีอันตราย จึงไม่ต้องทำอะไร, อาจต้องรับการรักษาภาวะนั้น เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนอันจะเกิดขึ้นในภายหลัง (เช่นในภาวะ[[ความดันเลือดสูง]] หรือ[[ไขมันในเลือดสูง]] เป็นต้น), อาจต้องตรวจหาภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในภายหลังหรือพบร่วมกันในตอนนั้น, อาจเป็นการติดเชื้อที่สามารถแพร่ไปยังคนอื่นได้ เป็นต้น
ภาวะการเจ็บป่วยโดยไม่มีอาการนั้นมีความสำคัญ เพราะมีการดำเนินโรคหลายแบบ และอาจจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาต่างๆ กัน เช่น อาจมีอาการมากขึ้นในภายหลัง จึงต้องเฝ้าระวัง, อาจหายได้เอง หรือเป็นภาวะที่ไม่มีอันตราย จึงไม่ต้องทำอะไร, อาจต้องรับการรักษาภาวะนั้น เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนอันจะเกิดขึ้นในภายหลัง (เช่นในภาวะ[[ความดันเลือดสูง]] หรือ[[ไขมันในเลือดสูง]] เป็นต้น), อาจต้องตรวจหาภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในภายหลังหรือพบร่วมกันในตอนนั้น, อาจเป็นการติดเชื้อที่สามารถแพร่ไปยังคนอื่นได้ เป็นต้น

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์แพทย์]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์แพทย์]]
[[หมวดหมู่:อาการ]]
[[หมวดหมู่:อาการ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:20, 18 มิถุนายน 2555

ไร้อาการ[1] หรือ การเจ็บป่วยโดยไม่มีอาการ (อังกฤษ: asymptomatic) เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีโรคดำเนินอยู่ในร่างกาย เช่น มีการเจริญของมะเร็ง มีการติดเชื้อ ฯลฯ แต่ไม่มีอาการปรากฏให้เจ้าตัวรู้สึก บางครั้งอาจมีความผิดปกติที่สามารถตรวจพบได้แต่ไม่ได้ตรวจจึงไม่พบและไม่รู้ว่ามีก็ได้

ภาวะการเจ็บป่วยโดยไม่มีอาการนั้นมีความสำคัญ เพราะมีการดำเนินโรคหลายแบบ และอาจจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาต่างๆ กัน เช่น อาจมีอาการมากขึ้นในภายหลัง จึงต้องเฝ้าระวัง, อาจหายได้เอง หรือเป็นภาวะที่ไม่มีอันตราย จึงไม่ต้องทำอะไร, อาจต้องรับการรักษาภาวะนั้น เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนอันจะเกิดขึ้นในภายหลัง (เช่นในภาวะความดันเลือดสูง หรือไขมันในเลือดสูง เป็นต้น), อาจต้องตรวจหาภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในภายหลังหรือพบร่วมกันในตอนนั้น, อาจเป็นการติดเชื้อที่สามารถแพร่ไปยังคนอื่นได้ เป็นต้น

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน ข้อมูลปรับปรุงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2544 เรียกดูเมื่อ 11 เมษายน พ.ศ. 2552