ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กินซะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wizard (คุย | ส่วนร่วม)
New page: '''กินซ่า (Ginza)''' เป็นย่านหนึ่งในเขตจูโอ กรุงโตเกียว ตั้งอยู่ทางทิศใ...
 
Wizard (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[Image:Wako1000.jpg|thumb|250px|ห้างสรรพสินค้าวาโกะ]]
[[Image:Ginza area at dusk from Tokyo Tower.jpg|thumb|250px|ย่านกินซ่ายามเย็น มองจาก[[หอโตเกียว]]]]
[[Image:Kabukiza1044.jpg|thumb|250px|โรงละครคาบุกิซ่า]]
[[Image:CIMG5151.JPG |thumb|250px|ตึกโซนี่]]
[[Image:IMG 5076.jpg|thumb|ถนนจูโอในวันอาทิตย์ ซึ่งปิดการจราจร]]

'''กินซ่า (Ginza)''' เป็นย่านหนึ่งในเขต[[จูโอ]] กรุง[[โตเกียว]] ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของยาเอสึและเคียวบาชิ ทางทิศตะวันตกของ[[ทสึคิ]]จิ ทางทิศตะวันออกของยูรากุโจและอุจิไซวาอิโจ และทางทิศเหนือของชินบาชิ มีชื่อเสียงในฐานะเป็นย่านการค้าอันเป็นที่ตั้งของห้างสรรพสินค้า ร้านบูติค ภัตตาคาร และร้านกาแฟมากมาย
'''กินซ่า (Ginza)''' เป็นย่านหนึ่งในเขต[[จูโอ]] กรุง[[โตเกียว]] ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของยาเอสึและเคียวบาชิ ทางทิศตะวันตกของ[[ทสึคิ]]จิ ทางทิศตะวันออกของยูรากุโจและอุจิไซวาอิโจ และทางทิศเหนือของชินบาชิ มีชื่อเสียงในฐานะเป็นย่านการค้าอันเป็นที่ตั้งของห้างสรรพสินค้า ร้านบูติค ภัตตาคาร และร้านกาแฟมากมาย


บรรทัด 5: บรรทัด 11:
ชื่อ 'กินซ่า' หมายถึง เหรียญเงิน มีที่มาจากโรงกษาปณ์ที่ก่อตั้งขึ้นบริเวณนี้เมื่อปี 1612 ในสมัย[[เอโดะ]]
ชื่อ 'กินซ่า' หมายถึง เหรียญเงิน มีที่มาจากโรงกษาปณ์ที่ก่อตั้งขึ้นบริเวณนี้เมื่อปี 1612 ในสมัย[[เอโดะ]]


การพัฒนาย่านกินซ่าให้ทันสมัยเริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 1872 หลังจากเกิดเหตุเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ซึ่งได้เผาทำลายอาคารต่างๆเป็นจำนวนมาก ในระหว่างการปรับปรุงพัฒนาย่านนี้ ได้มีการสร้างอาคารอิฐแบบจอร์เจียสูง 2-3 ชั้นขึ้นแทนหลายหลัง ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอังกฤษชื่อว่า โธมัน วอเตอร์ส ต่อมาได้มีการสร้างปรับปรุงถนนตั้งแต่สะพานชินบาชิจนถึงสะพานเคียวบาชิในด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเขตจูโอให้เป็นย่านการค้า ในปัจจุบันนี้ อาคารแบบยุโรปที่สร้างขึ้นในช่วงเวลานั้นเหลืออยู่ไม่มากนัก ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ อาคารวาโกะ ซึ่งมีหอนาฬิกาอยู่บนยอด
การพัฒนาย่านกินซ่าให้ทันสมัยเริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 1872 หลังจากเกิดเหตุเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ซึ่งได้เผาทำลายอาคารต่างๆเป็นจำนวนมาก ในระหว่างการปรับปรุงพัฒนาย่านนี้ ได้มีการสร้างอาคารอิฐแบบจอร์เจียสูง 2-3 ชั้นขึ้นแทนหลายหลัง ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอังกฤษชื่อว่า โธมัน วอเตอร์ส ต่อมาได้มีการสร้างปรับปรุงถนนตั้งแต่สะพานชินบาชิจนถึงสะพานเคียวบาชิในด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเขตจูโอให้เป็นย่านการค้า ในปัจจุบันนี้ อาคารแบบยุโรปที่สร้างขึ้นในช่วงเวลานั้นเหลืออยู่ไม่มากนัก ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ ห้างสรรพสินค้าวาโกะ ซึ่งมีหอนาฬิกาอยู่บนยอด


กินซ่าเป็นย่านที่มีผู้มาเยือนเป็นจำนวนมาก ในวันหยุดสุดสัปดาห์ ถนนใหญ่สายเหนือ-ใต้จะปิดการจราจรให้คนเดิน ซึ่งเริ่มปฏิบัติเช่นนี้มาตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1960 ในสมัยรัฐบาลของ[[เรียวคิชิ มิโนเบะ]]
กินซ่าเป็นย่านที่มีผู้มาเยือนเป็นจำนวนมาก ในวันหยุดสุดสัปดาห์ ถนนใหญ่สายเหนือ-ใต้จะปิดการจราจรให้คนเดิน ซึ่งเริ่มปฏิบัติเช่นนี้มาตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1960 ในสมัยรัฐบาลของ[[เรียวคิชิ มิโนเบะ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:54, 15 กุมภาพันธ์ 2550

ห้างสรรพสินค้าวาโกะ
ย่านกินซ่ายามเย็น มองจากหอโตเกียว
โรงละครคาบุกิซ่า
ไฟล์:CIMG5151.JPG
ตึกโซนี่
ไฟล์:IMG 5076.jpg
ถนนจูโอในวันอาทิตย์ ซึ่งปิดการจราจร

กินซ่า (Ginza) เป็นย่านหนึ่งในเขตจูโอ กรุงโตเกียว ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของยาเอสึและเคียวบาชิ ทางทิศตะวันตกของทสึคิจิ ทางทิศตะวันออกของยูรากุโจและอุจิไซวาอิโจ และทางทิศเหนือของชินบาชิ มีชื่อเสียงในฐานะเป็นย่านการค้าอันเป็นที่ตั้งของห้างสรรพสินค้า ร้านบูติค ภัตตาคาร และร้านกาแฟมากมาย

ประวัติความเป็นมา

ชื่อ 'กินซ่า' หมายถึง เหรียญเงิน มีที่มาจากโรงกษาปณ์ที่ก่อตั้งขึ้นบริเวณนี้เมื่อปี 1612 ในสมัยเอโดะ

การพัฒนาย่านกินซ่าให้ทันสมัยเริ่มต้นขึ้นเมื่อปี 1872 หลังจากเกิดเหตุเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ซึ่งได้เผาทำลายอาคารต่างๆเป็นจำนวนมาก ในระหว่างการปรับปรุงพัฒนาย่านนี้ ได้มีการสร้างอาคารอิฐแบบจอร์เจียสูง 2-3 ชั้นขึ้นแทนหลายหลัง ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอังกฤษชื่อว่า โธมัน วอเตอร์ส ต่อมาได้มีการสร้างปรับปรุงถนนตั้งแต่สะพานชินบาชิจนถึงสะพานเคียวบาชิในด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเขตจูโอให้เป็นย่านการค้า ในปัจจุบันนี้ อาคารแบบยุโรปที่สร้างขึ้นในช่วงเวลานั้นเหลืออยู่ไม่มากนัก ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ ห้างสรรพสินค้าวาโกะ ซึ่งมีหอนาฬิกาอยู่บนยอด

กินซ่าเป็นย่านที่มีผู้มาเยือนเป็นจำนวนมาก ในวันหยุดสุดสัปดาห์ ถนนใหญ่สายเหนือ-ใต้จะปิดการจราจรให้คนเดิน ซึ่งเริ่มปฏิบัติเช่นนี้มาตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1960 ในสมัยรัฐบาลของเรียวคิชิ มิโนเบะ