ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซูเปอร์ชาร์จเจอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
+ข้อมูล
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


ขณะที่พลังมาจากกังหันก๊าซไอเสียเป็นที่รู้จักกันคือ [[เทอร์โบชาร์จเจอร์]]<ref>{{cite web|url=http://rwebs.net/avhistory/opsman/geturbo/geturbo.htm |title='&#39;"The Turbosupercharger and the Airplane Power Plant"'&#39; |publisher=Rwebs.net |date=1943-12-30 |accessdate=2010-08-03}}</ref> โดยปกติจะเรียกสั้น ๆ ว่า เทอร์โบ โดยทั่วไปคำว่า supercharger มักจะเกี่ยวกับหน่วยขับเคลื่อนทางกล
ขณะที่พลังมาจากกังหันก๊าซไอเสียเป็นที่รู้จักกันคือ [[เทอร์โบชาร์จเจอร์]]<ref>{{cite web|url=http://rwebs.net/avhistory/opsman/geturbo/geturbo.htm |title='&#39;"The Turbosupercharger and the Airplane Power Plant"'&#39; |publisher=Rwebs.net |date=1943-12-30 |accessdate=2010-08-03}}</ref> โดยปกติจะเรียกสั้น ๆ ว่า เทอร์โบ โดยทั่วไปคำว่า supercharger มักจะเกี่ยวกับหน่วยขับเคลื่อนทางกล

== หลักการทำงาน ==
การทำงานของซูเปอร์ชาร์จเจอร์ใช้หลักการหมุนเพื่อดูดอากาศและเพิ่มแรงดันของอากาศแล้วจึงส่งผ่านไปยังห้องเผาไหม้ ส่วนภายในจะเป็นเครื่องดูดและอัดอากาศโดยใช้ใบพัดแบบเกลียวอาศัยแรงหมุนจากเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้า<ref name = thaispeedcar/>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:12, 5 พฤษภาคม 2555

ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ในเครื่องยนต์ AMC V8 engine สำหรับการแข่ง dragstrip racing

ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ (อังกฤษ: Supercharger, Blower, Compressor) เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่ดูดอากาศเข้าจากนั้นทำการอัดอากาศและส่งเข้าสู่ห้องด้วยแรงดันสูงให้มวลไหลของออกซิเจนสูงกว่าอัตราการปกติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเผาไหม้มากกว่าเครื่องยนต์ที่ไม่มีระบบอัดอากาศ ซึ่งจะช่วยให้เชื้อเพลิงถูกเผาไหม้และทำงานมากขึ้นเพื่อจะทำการเพิ่มการหมุนต่อรอบและเพิ่มกำลังของเครื่องยนต์[1]

ขณะที่พลังมาจากกังหันก๊าซไอเสียเป็นที่รู้จักกันคือ เทอร์โบชาร์จเจอร์[2] โดยปกติจะเรียกสั้น ๆ ว่า เทอร์โบ โดยทั่วไปคำว่า supercharger มักจะเกี่ยวกับหน่วยขับเคลื่อนทางกล

หลักการทำงาน

การทำงานของซูเปอร์ชาร์จเจอร์ใช้หลักการหมุนเพื่อดูดอากาศและเพิ่มแรงดันของอากาศแล้วจึงส่งผ่านไปยังห้องเผาไหม้ ส่วนภายในจะเป็นเครื่องดูดและอัดอากาศโดยใช้ใบพัดแบบเกลียวอาศัยแรงหมุนจากเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ไฟฟ้า[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ซุปเปอร์ชาร์จเจอร์ อุปกรณ์เพิ่มความแรง
  2. "''"The Turbosupercharger and the Airplane Power Plant"''". Rwebs.net. 1943-12-30. สืบค้นเมื่อ 2010-08-03.