ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ariseng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ariseng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
ระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟแวร์มีอยู่หลายวิธีการ แต่ละวิธีการมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน ตัวอย่างระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟแวร์ที่ได้รับความนิยม เช่น โครงสร้างแบบน้ำตก (Waterfall Model), โครงสร้างแบบก้นหอย (Spiral Model), วิธีการพัฒนาซอฟแวร์แบบคล่องแคล่วว่องไว (Agile Software Development)
ระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟแวร์มีอยู่หลายวิธีการ แต่ละวิธีการมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน ตัวอย่างระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟแวร์ที่ได้รับความนิยม เช่น โครงสร้างแบบน้ำตก (Waterfall Model), โครงสร้างแบบก้นหอย (Spiral Model), วิธีการพัฒนาซอฟแวร์แบบคล่องแคล่วว่องไว (Agile Software Development)


ขั้นตอนของ SDLC
'''ขั้นตอนของ SDLC'''
1. System Design เป็นการรวบรวมความต้องการของระบบ (Information Requirement) และนำข้อมูลนั้นมาทำการออกแบบระบบ (System Design) ถ้าเปรียบเทียบในเชิงวิศวกรรม ขั้นตอนนี้จะเป็นการร่างพิมพ์เขียวของการสร้างบ้าน
1. System Design เป็นการรวบรวมความต้องการของระบบ (Information Requirement) และนำข้อมูลนั้นมาทำการออกแบบระบบ (System Design) ถ้าเปรียบเทียบในเชิงวิศวกรรม ขั้นตอนนี้จะเป็นการร่างพิมพ์เขียวของการสร้างบ้าน

2. Programming เป็นขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โดยการนำสิ่งที่ได้จากขั้นตอน System Design มาแปลงให้อยู่ในรูปแบบของ Software program code
2. Programming เป็นขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โดยการนำสิ่งที่ได้จากขั้นตอน System Design มาแปลงให้อยู่ในรูปแบบของ Software program code

3. Testing เป็นกระบวนการทดสอบโปรแกรมหรือระบบว่าครบถ้วนตามที่ออกแบบหรือไม่ ซึ่งโดยหลักการแล้วผู้พัฒนาโปรแกรมไม่ควรเป็นคนเดียวกับผู้ที่ทำการทดสอบโปรแกรม
3. Testing เป็นกระบวนการทดสอบโปรแกรมหรือระบบว่าครบถ้วนตามที่ออกแบบหรือไม่ ซึ่งโดยหลักการแล้วผู้พัฒนาโปรแกรมไม่ควรเป็นคนเดียวกับผู้ที่ทำการทดสอบโปรแกรม

4. Conversion เป็นขั้นตอนการเปลี่ยนระบบเก่าไปสู่ระบบใหม่
4. Conversion เป็นขั้นตอนการเปลี่ยนระบบเก่าไปสู่ระบบใหม่
4.1 Parallel Strategy
4.1 Parallel Strategy
บรรทัด 12: บรรทัด 15:
4.3 Pilot study
4.3 Pilot study
4.4 Phased Approach
4.4 Phased Approach

5. Production and Maintenance เป็นขั้นตอนการตรวจสอบระบบระหว่าง User กับผู้ออกแบบระบบ
5. Production and Maintenance เป็นขั้นตอนการตรวจสอบระบบระหว่าง User กับผู้ออกแบบระบบ
{{โครงคอม}}
{{โครงคอม}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:45, 27 มกราคม 2550

วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครงร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อใช้เป็นขั้นตอนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ หรือซอฟต์แวร์ให้สำเร็จ โดยการให้มาซึ่งซอฟแวร์อาจจะเป็นโดยการซื้อหรือการจ้างทำหรือการพัฒนาเองก็ได้

ระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟแวร์มีอยู่หลายวิธีการ แต่ละวิธีการมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน ตัวอย่างระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟแวร์ที่ได้รับความนิยม เช่น โครงสร้างแบบน้ำตก (Waterfall Model), โครงสร้างแบบก้นหอย (Spiral Model), วิธีการพัฒนาซอฟแวร์แบบคล่องแคล่วว่องไว (Agile Software Development)

ขั้นตอนของ SDLC 1. System Design เป็นการรวบรวมความต้องการของระบบ (Information Requirement) และนำข้อมูลนั้นมาทำการออกแบบระบบ (System Design) ถ้าเปรียบเทียบในเชิงวิศวกรรม ขั้นตอนนี้จะเป็นการร่างพิมพ์เขียวของการสร้างบ้าน

2. Programming เป็นขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โดยการนำสิ่งที่ได้จากขั้นตอน System Design มาแปลงให้อยู่ในรูปแบบของ Software program code

3. Testing เป็นกระบวนการทดสอบโปรแกรมหรือระบบว่าครบถ้วนตามที่ออกแบบหรือไม่ ซึ่งโดยหลักการแล้วผู้พัฒนาโปรแกรมไม่ควรเป็นคนเดียวกับผู้ที่ทำการทดสอบโปรแกรม

4. Conversion เป็นขั้นตอนการเปลี่ยนระบบเก่าไปสู่ระบบใหม่

     4.1 Parallel Strategy 
  4.2 Direct cutover 
  4.3 Pilot study 
  4.4 Phased Approach

5. Production and Maintenance เป็นขั้นตอนการตรวจสอบระบบระหว่าง User กับผู้ออกแบบระบบ