ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทพลิขิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: simple:Manifest Destiny
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{ขาดอ้างอิง}}
[[ไฟล์:American progress.JPG|thumb|right|300px|ภาพ ''ความเจริญของเอมริกา'' ค.ศ. 1872 โดยจอห์น เกสต์ แสดงให้เห็นถึงภาพเชิงเปรียบเทียบของกระบวนการพัฒนาพื้นที่ฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เป็นภาพที่แสดงถึง ''โคลัมเบีย'' บุคลาธิษฐานของสหรัฐอเมริกานำพาความเจริญก้าวหน้าไปสู่ฝั่งตะวันตกพร้อมกับเหล่าผู้ตั้งรกราก ถือตำราเรียนและร้อยสาย[[โทรเลข]]ไปตามทางขณะลอยเคลื่อนไปทิศตะวันตก ซึ่งเน้นด้วยผู้บุกเบิกที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันพร้อมกับระบบขนส่งทางราง ขณะที่ชนอเมริกันพื้นเมืองและฝูงสัตว์ต่างหลีกหนีด้วยความตื่นกลัว]]

'''เทพลิขิต''' หรือ '''โองการของพระเจ้า''' ({{lang-en|Manifest Destiny}}) เป็นวลีที่เป็นปรัชญาที่เกิดขึ้นในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] ว่าสหรัฐอเมริกานั้นมีภาระกิจที่กำหนดไว้โดยเทพให้ทำการขยายพรมแดน จากชายฝั่งแอตแลนติกทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ ออกไปทางทิศตะวันตกจนจรดชายฝั่ง[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] วลี “Manifest Destiny" ซึ่งมีความหมายว่า “ชะตากรรมที่พระเจ้ากำหนดไว้อย่างชัดเจนหรือภาระกิจที่ปฏิเสธไม่ได้” นี้ [[จอห์น โอ'ซัลลิแวน]] (John O'Sullivan) นักหนังสือพิมพ์ในเมืองนิวยอร์กเป็นผู้คิดรังสรรค์รูปคำขึ้นมาใช้ในปี [[ค.ศ. 1845]] เมื่อเขาเขียนว่า "มันเป็นชะตากรรมของชาติที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว ให้ขยายพรมแดนออกไปและเข้าครอบครองทวีปอเมริกาเหนือทั้งหมด ซึ่งพระกรุณาของพระผู้เป็นเจ้า (Providence ) ที่กำหนดให้แก่เรานี้ก็เพื่อพัฒนาประสบการณ์อันยิ่งใหญ่ของเสรีภาพ และ รัฐบาลสหพันธรัฐที่ ทรงประทานให้แก่เรา” แม้ว่า “Manifest Destiny” ไม่เคยถูกระบุว่าเป็นนโยบายพิเศษหรืออุดมการณ์ (ideology) ของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ก็เป็นเจตจำนงค์ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้ อันเกิดขึ้นจากการผสมผสานแนวคิดรากฐานสำคัญ 3 ประการเข้าด้วยกัน คือ ลัทธิที่เชื่อว่าคนอเมริกันนั้นมีความพิเศษเหนือชาติอื่น (American exceptionalism) [[ลัทธิชาตินิยม]] (nationalism) และ [[ลัทธิการแพร่ขยายอาณาเขต]] (expansionism) นักวิเคราะห์หลายคนเชื่อว่า แนวคิดในบางแง่มุมของ Manifest Destiny นั้นยังคงประกอบอยู่เป็นส่วนหนึ่งในนโยบายและมุมมองต่อโลกภายนอกของอเมริกันชน อยู่
'''เทพลิขิต''' หรือ '''โองการของพระเจ้า''' ({{lang-en|Manifest Destiny}}) เป็นวลีที่เป็นปรัชญาที่เกิดขึ้นในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] ว่าสหรัฐอเมริกานั้นมีภาระกิจที่กำหนดไว้โดยเทพให้ทำการขยายพรมแดน จากชายฝั่งแอตแลนติกทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ ออกไปทางทิศตะวันตกจนจรดชายฝั่ง[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] วลี “Manifest Destiny" ซึ่งมีความหมายว่า “ชะตากรรมที่พระเจ้ากำหนดไว้อย่างชัดเจนหรือภาระกิจที่ปฏิเสธไม่ได้” นี้ [[จอห์น โอ'ซัลลิแวน]] (John O'Sullivan) นักหนังสือพิมพ์ในเมืองนิวยอร์กเป็นผู้คิดรังสรรค์รูปคำขึ้นมาใช้ในปี [[ค.ศ. 1845]] เมื่อเขาเขียนว่า "มันเป็นชะตากรรมของชาติที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว ให้ขยายพรมแดนออกไปและเข้าครอบครองทวีปอเมริกาเหนือทั้งหมด ซึ่งพระกรุณาของพระผู้เป็นเจ้า (Providence ) ที่กำหนดให้แก่เรานี้ก็เพื่อพัฒนาประสบการณ์อันยิ่งใหญ่ของเสรีภาพ และ รัฐบาลสหพันธรัฐที่ ทรงประทานให้แก่เรา” แม้ว่า “Manifest Destiny” ไม่เคยถูกระบุว่าเป็นนโยบายพิเศษหรืออุดมการณ์ (ideology) ของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ก็เป็นเจตจำนงค์ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้ อันเกิดขึ้นจากการผสมผสานแนวคิดรากฐานสำคัญ 3 ประการเข้าด้วยกัน คือ ลัทธิที่เชื่อว่าคนอเมริกันนั้นมีความพิเศษเหนือชาติอื่น (American exceptionalism) [[ลัทธิชาตินิยม]] (nationalism) และ [[ลัทธิการแพร่ขยายอาณาเขต]] (expansionism) นักวิเคราะห์หลายคนเชื่อว่า แนวคิดในบางแง่มุมของ Manifest Destiny นั้นยังคงประกอบอยู่เป็นส่วนหนึ่งในนโยบายและมุมมองต่อโลกภายนอกของอเมริกันชน อยู่



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:41, 24 สิงหาคม 2554

ภาพ ความเจริญของเอมริกา ค.ศ. 1872 โดยจอห์น เกสต์ แสดงให้เห็นถึงภาพเชิงเปรียบเทียบของกระบวนการพัฒนาพื้นที่ฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เป็นภาพที่แสดงถึง โคลัมเบีย บุคลาธิษฐานของสหรัฐอเมริกานำพาความเจริญก้าวหน้าไปสู่ฝั่งตะวันตกพร้อมกับเหล่าผู้ตั้งรกราก ถือตำราเรียนและร้อยสายโทรเลขไปตามทางขณะลอยเคลื่อนไปทิศตะวันตก ซึ่งเน้นด้วยผู้บุกเบิกที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันพร้อมกับระบบขนส่งทางราง ขณะที่ชนอเมริกันพื้นเมืองและฝูงสัตว์ต่างหลีกหนีด้วยความตื่นกลัว

เทพลิขิต หรือ โองการของพระเจ้า (อังกฤษ: Manifest Destiny) เป็นวลีที่เป็นปรัชญาที่เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ว่าสหรัฐอเมริกานั้นมีภาระกิจที่กำหนดไว้โดยเทพให้ทำการขยายพรมแดน จากชายฝั่งแอตแลนติกทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ ออกไปทางทิศตะวันตกจนจรดชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก วลี “Manifest Destiny" ซึ่งมีความหมายว่า “ชะตากรรมที่พระเจ้ากำหนดไว้อย่างชัดเจนหรือภาระกิจที่ปฏิเสธไม่ได้” นี้ จอห์น โอ'ซัลลิแวน (John O'Sullivan) นักหนังสือพิมพ์ในเมืองนิวยอร์กเป็นผู้คิดรังสรรค์รูปคำขึ้นมาใช้ในปี ค.ศ. 1845 เมื่อเขาเขียนว่า "มันเป็นชะตากรรมของชาติที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว ให้ขยายพรมแดนออกไปและเข้าครอบครองทวีปอเมริกาเหนือทั้งหมด ซึ่งพระกรุณาของพระผู้เป็นเจ้า (Providence ) ที่กำหนดให้แก่เรานี้ก็เพื่อพัฒนาประสบการณ์อันยิ่งใหญ่ของเสรีภาพ และ รัฐบาลสหพันธรัฐที่ ทรงประทานให้แก่เรา” แม้ว่า “Manifest Destiny” ไม่เคยถูกระบุว่าเป็นนโยบายพิเศษหรืออุดมการณ์ (ideology) ของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ก็เป็นเจตจำนงค์ซึ่งเป็นที่เข้าใจได้ อันเกิดขึ้นจากการผสมผสานแนวคิดรากฐานสำคัญ 3 ประการเข้าด้วยกัน คือ ลัทธิที่เชื่อว่าคนอเมริกันนั้นมีความพิเศษเหนือชาติอื่น (American exceptionalism) ลัทธิชาตินิยม (nationalism) และ ลัทธิการแพร่ขยายอาณาเขต (expansionism) นักวิเคราะห์หลายคนเชื่อว่า แนวคิดในบางแง่มุมของ Manifest Destiny นั้นยังคงประกอบอยู่เป็นส่วนหนึ่งในนโยบายและมุมมองต่อโลกภายนอกของอเมริกันชน อยู่

การเสริมสร้างรากฐานปรัชญา

การเสริมสร้างรากฐานปรัชญา (Philosophical underpinnings) ผู้บุกเบิกอเมริกันจำนวนมากมีสำนึกที่แข็งแกร่งว่า เสรีภาพของชาติและอุดมคตินั้นมีความสำคัญมาก และจำเป็นที่จะต้องนำไปเผยแพร่ในดินแดนใหม่โดยการขยายขอบเขตของชาติ และพรมแดนของประเทศให้กว้างขวางออกไปจนสุดขอบฟ้า สองศตวรรษก่อนหน้านั้น จอห์น วินโทรพ (John Winthrop) ข้าหลวง (governor) แห่งอาณานิคมอ่าวแมซซาชูเสตต์ (Massachusetts Bay Colony) ได้อ้างเหตุผลสนับสนุนแนวคิดนี้ว่า อาณานิคมของเขานั้นจะเป็นเสมือน "เมืองบนยอดเขา (City on a Hill)" ที่แสดงให้ดินแดนส่วนที่เหลือของโลกได้เห็นว่า สังคมเสรีในวิถีของพระผู้เป็นเจ้านั้นเป็นอย่างไร คนจำนวนหนึ่งได้ออกมาเสนอแนวคิด เพิ่มเติมว่า การแพร่ขยายหลักการนี้ออกไป เนื่องเพราะมันเป็นโชคชะตาที่กำหนดไว้และหลีกเลี่ยงไม่ได้นั้น สหรัฐอเมริกาควรจะขยายอาณาเขตออกไปให้ครอบคลุมทั่วทั้งทวีปอเมริกาเหนือ ขบวนการอเมริกันหนุ่ม (The Young America movement) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก แฟรงกลิน เพียรซ (Franklin Pierce) ได้เคลื่อนไหวส่งเสริม ทรรศนะดังกล่าวนี้อย่างคึกคักยิ่ง