ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อรรถบำบัด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ขออนุญาตลบชื่ออกจากบทความ ตามนโยบาย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อรรถบำบัด''' (speech language pathologist) คือ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวินิจฉัย การบำบัดรักษาและฟื้นฟู[[ผู้ป่วย]]ที่มีความผิดปกติทาง[[ภาษา]]และ[[การพูด]] เช่น พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด
อรรถบำบัด(Speech Language Pathologist)
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวินิจฉัย การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางภาษาและการพูด เช่น พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด
เสียงผิดปกติ ปากแหว่งเพดานโหว่ ประสาทหูพิการ มีความบกพร่องด้านสติปัญญา ผู้ป่วยที่ถูกตัดกล่องเสียง
เสียงผิดปกติ ปากแหว่งเพดานโหว่ ประสาทหูพิการ มีความบกพร่องด้านสติปัญญา ผู้ป่วยที่ถูกตัดกล่องเสียง
ผู้ป่วยสมองพิการ
ผู้ป่วยสมองพิการ

บทบาทของนักอรรถบำบัดในทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟูคือ
บทบาทของนักอรรถบำบัดในทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟูคือ
# ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน
# แยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
# ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของผู้ป่วยและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
# คัดเลือกและประยุกต์ ใช้เครื่องช่วย อุปกรณ์เสริมวัสดุ เพื่อทดแทนให้เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วย
# เผยแพร่ความรู้เพื่อป้องกันความผิดปกติทางภาษาและการพูด


[[หมวดหมู่:การแพทย์]]
1.ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน
{{โครงแพทย์}}

2.แยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด

3. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของผู้ป่วยและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง

4. คัดเลือกและประยุกต์ ใช้เครื่องช่วย อุปกรณ์เสริมวัสดุ เพื่อทดแทนให้เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วย

5. เผยแพร่ความรู้เพื่อป้องกันความผิดปกติทางภาษาและการพูด



[[en:Speech pathology]]
ที่มา
คุณปรียา หล่อวัฒนพงษา
(นักอรรถบำบัด ร.พ.จุฬาลงกรณ์)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:41, 26 กันยายน 2549

อรรถบำบัด (speech language pathologist) คือ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวินิจฉัย การบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางภาษาและการพูด เช่น พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด เสียงผิดปกติ ปากแหว่งเพดานโหว่ ประสาทหูพิการ มีความบกพร่องด้านสติปัญญา ผู้ป่วยที่ถูกตัดกล่องเสียง ผู้ป่วยสมองพิการ

บทบาทของนักอรรถบำบัดในทีมเวชศาสตร์ฟื้นฟูคือ

  1. ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน
  2. แยกประเภทความผิดปกติ และให้การบำบัดรักษาแก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพ ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติทางภาษาและการพูด
  3. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติของผู้ป่วยและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
  4. คัดเลือกและประยุกต์ ใช้เครื่องช่วย อุปกรณ์เสริมวัสดุ เพื่อทดแทนให้เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วย
  5. เผยแพร่ความรู้เพื่อป้องกันความผิดปกติทางภาษาและการพูด