ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทรรศน์ของรัสเซิลล์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: zh-classical:羅素悖論
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hr:Russellov paradoks; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


ในระบบของคันทอร์, ''M'' เป็น[[เซตแจ่มชัด]]. ''M'' จะบรรจุตัวเองหรือไม่? ถ้าใช่ มันจะไม่เป็นสมาชิกของ ''M'' ตามนิยามที่กำหนดไว้ และถ้าเราสมมติว่า ''M'' ไม่บรรจุตัวเองแล้ว มันก็จะกลายเป็นสมาชิกของ ''M'' ซึ่งจะทำให้ขัดแย้งกับนิยามของ ''M'' อีกครั้ง
ในระบบของคันทอร์, ''M'' เป็น[[เซตแจ่มชัด]]. ''M'' จะบรรจุตัวเองหรือไม่? ถ้าใช่ มันจะไม่เป็นสมาชิกของ ''M'' ตามนิยามที่กำหนดไว้ และถ้าเราสมมติว่า ''M'' ไม่บรรจุตัวเองแล้ว มันก็จะกลายเป็นสมาชิกของ ''M'' ซึ่งจะทำให้ขัดแย้งกับนิยามของ ''M'' อีกครั้ง
{{โครงคณิตศาสตร์}}



[[หมวดหมู่:ปฏิทรรศน์]]
[[หมวดหมู่:ปฏิทรรศน์]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีเซต]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีเซต]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}


[[bg:Парадокс на Ръсел]]
[[bg:Парадокс на Ръсел]]
บรรทัด 22: บรรทัด 21:
[[fr:Paradoxe de Russell]]
[[fr:Paradoxe de Russell]]
[[he:הפרדוקס של ראסל]]
[[he:הפרדוקס של ראסל]]
[[hr:Russellov paradoks]]
[[hu:Russell-paradoxon]]
[[hu:Russell-paradoxon]]
[[is:Russell mótsögnin]]
[[is:Russell mótsögnin]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:01, 4 กรกฎาคม 2552

ปฏิทรรศน์ของรัสเซิลล์ (Russell's paradox) คือ ปฏิทรรศน์ (paradox) ที่ถูกค้นพบโดย เบอร์แทรนด์ รัสเซิลล์ ใน ค.ศ. 1901 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ทฤษฎีเซตสามัญของคันทอร์และ Frege มีความขัดแย้ง. พิจารณาเซต M ซึ่งเป็น "เซตของเซตทุกเซตที่ไม่บรรจุตัวเองเป็นสมาชิก". หรือกล่าวว่า: A เป็นสมาชิกของ M ก็ต่อเมื่อ A ไม่เป็นสมาชิกของ A.

ในระบบของคันทอร์, M เป็นเซตแจ่มชัด. M จะบรรจุตัวเองหรือไม่? ถ้าใช่ มันจะไม่เป็นสมาชิกของ M ตามนิยามที่กำหนดไว้ และถ้าเราสมมติว่า M ไม่บรรจุตัวเองแล้ว มันก็จะกลายเป็นสมาชิกของ M ซึ่งจะทำให้ขัดแย้งกับนิยามของ M อีกครั้ง