ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใยประสาทนำเข้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: en:Dendrite
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
[[da:Dendrit]]
[[da:Dendrit]]
[[de:Dendrit (Biologie)]]
[[de:Dendrit (Biologie)]]
[[en:Dendrite]]
[[es:Dendrita]]
[[es:Dendrita]]
[[eu:Dendrita]]
[[eu:Dendrita]]
[[fa:دارینه]]
[[fa:دارینه]]
[[fi:Tuojahaarake]]
[[fr:Dendrite (biologie)]]
[[fr:Dendrite (biologie)]]
[[he:דנדריט]]
[[id:Dendrit]]
[[id:Dendrit]]
[[io:Dendrito]]
[[io:Dendrito]]
[[is:Griplur]]
[[is:Griplur]]
[[it:Dendrite (biologia)]]
[[it:Dendrite (biologia)]]
[[he:דנדריט]]
[[ja:樹状突起]]
[[lt:Dendritas]]
[[lt:Dendritas]]
[[mk:Дендрит]]
[[mk:Дендрит]]
[[nl:Dendriet (neurologie)]]
[[nl:Dendriet (neurologie)]]
[[ja:樹状突起]]
[[no:Dendritt]]
[[no:Dendritt]]
[[pl:Dendryt (biologia)]]
[[pl:Dendryt (biologia)]]
บรรทัด 32: บรรทัด 34:
[[simple:Dendrite]]
[[simple:Dendrite]]
[[sl:Dendrit]]
[[sl:Dendrit]]
[[fi:Tuojahaarake]]
[[sv:Dendrit]]
[[sv:Dendrit]]
[[tg:Дендрит]]
[[tg:Дендрит]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:41, 8 มิถุนายน 2552

เดนไดรต์ (Dendrite) เป็นแขนงประสาทประเภทหนึ่งของเซลล์ประสาท (neuron) ซึ่งทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าสู่เซลล์ประสาท ซึ่งกระแสประสาทดังกล่าวเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเคมีที่เกิดจากการกระตุ้นจากเซลล์ประสาทอื่นๆ (ทั้งนี้อาจเกิดจากสัญญาณจากรีเซปเตอร์ การกระตุ้นด้วยขั้วไฟฟ้าโดยมนุษย์ ฯลฯ) ซึ่งช่องว่างระหว่างเซลล์ประสาทตรงบริเวณที่มีการถ่ายทอดกระแสประสาทไปสู่กันได้นั้น เรียกว่าไซแนปส์

ทั้งนี้แขนงของเดนดริติกเซลล์ (dendritic cells) ในระบบภูมิคุ้มกันก็เรียกว่าเดนไดรต์ แต่ไม่มีความสามารถในการนำกระแสประสาท หรือกระแสไฟฟ้าเคมีใดๆ