ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคกินวากาชู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
Genji1000nenki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
คำนำ ของ โคะคินชู ที่เขียนโดย [[คิ โนะ ซึระยุกิ]] นั้นยังเขียนด้วยภาษาญี่ปุ่น ซึ่งแตกต่างจากหนังสือเล่มในยุกนั้นที่มักจะมีการเขียนคำนำเป็นภาษาจีน และใน โคะคินชู นี้ยังมีคำนำภาษาจที่เขียนโดย คิ โนะ โทะโมโนะริ (Ki no Tomonori) ด้วย ความคิดในการราวใรวมบทร้อยกรองตั้งแต่ยุคอดีตถึงปัจจุบันนั้น ยังเป็นความคิดสร้างสรรคที่สำคัญ ร้อยรองในประชุมร้อยกรอง จึงมีความหลากหลายทั้งรูปแบบและการใช้ภาษา แสดงให้เห็นรูปแบบของการพัฒนาของการแต่งกวีแบบวะกะ
คำนำ ของ โคะคินชู ที่เขียนโดย [[คิ โนะ ซึระยุกิ]] นั้นยังเขียนด้วยภาษาญี่ปุ่น ซึ่งแตกต่างจากหนังสือเล่มในยุกนั้นที่มักจะมีการเขียนคำนำเป็นภาษาจีน และใน โคะคินชู นี้ยังมีคำนำภาษาจที่เขียนโดย คิ โนะ โทะโมโนะริ (Ki no Tomonori) ด้วย ความคิดในการราวใรวมบทร้อยกรองตั้งแต่ยุคอดีตถึงปัจจุบันนั้น ยังเป็นความคิดสร้างสรรคที่สำคัญ ร้อยรองในประชุมร้อยกรอง จึงมีความหลากหลายทั้งรูปแบบและการใช้ภาษา แสดงให้เห็นรูปแบบของการพัฒนาของการแต่งกวีแบบวะกะ


==โครงสร้าง==
==โครงสร้างหมวดหมู่==




ยังไม่มีข้อสรุปในปัจจุบันว่า จำนวนบทร้อยกรองใน โคะคินชู แท้จริงแล้วมีจำนวนเท่าไร แต่ โคะคินวะกะชู ฉบับออนไลน์ <ref name="online">Online edition of the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese/kokinshu/ Kokin wakashu] at the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese UVa Library Japanese Text Initiative].</ref> มีบทกวีจำนวน 1,111 บท แบ่งเป็น 21 ส่วน ตามแบบของประชุมบทร้อยกรองแบบจีนที่เคยจัทำกันมาก่อนหน้านี้อย่างเช่น ''[[มันโยชู]]''
ยังไม่มีข้อสรุปในปัจจุบันว่า จำนวนบทร้อยกรองใน โคะคินชู แท้จริงแล้วมีจำนวนเท่าไร แต่ โคะคินวะกะชู ฉบับออนไลน์ <ref name="online">Online edition of the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese/kokinshu/ Kokin wakashu] at the [http://etext.lib.virginia.edu/japanese UVa Library Japanese Text Initiative].</ref> มีบทกวีจำนวน 1,111 บท แบ่งเป็น 21 ส่วน ตามแบบของประชุมบทร้อยกรองแบบจีนที่เคยจัดทำกันมาก่อนหน้านี้อย่างเช่น ''[[มันโยชู]]''


การแบ่งหมวดหมู่''โคะคินชู'' ตามชื่อภาษาญี่ปุ่น<ref name="online" />, their modern readings<ref name="companion">Miner (1985), pages 186&ndash;187</ref><ref name="trans">McCullough</ref>, และแปลภาษาอังกฤษ<ref name="contents">Brower, pg 482</ref>.
การแบ่งหมวดหมู่''โคะคินชู'' ตามชื่อภาษาญี่ปุ่น<ref name="online" />, their modern readings<ref name="companion">Miner (1985), pages 186&ndash;187</ref><ref name="trans">McCullough</ref>, และแปลภาษาอังกฤษ<ref name="contents">Brower, pg 482</ref>.
บรรทัด 74: บรรทัด 74:


ประชุมบทกวียังบันทึกชื่อผู้แต่งของกวีในแต่ละบท และแรงบันดาล{{nihongo|topic|題|dai}} เท่าที่ทราบ กวรหลักในโคะคินชู ประกอบด้วบ อะริวะระ โนะ นะริฮิระ (Ariwara no Narihira),โอโนะ โนะ โคะมะจิ (Ono no Komachi),เฮนโจ (Henjō) ฟุจิวะระ โนะ โอคิคะเสะ (Fujiwara no Okikaze) และกวีมีชื่ออีกมากมาย นอกจากนั้น ยังรวบรวมบทกวีของผู้จัดทำทั้ง 4 คนด้วย และบทกวีของราชวงค์
ประชุมบทกวียังบันทึกชื่อผู้แต่งของกวีในแต่ละบท และแรงบันดาล{{nihongo|topic|題|dai}} เท่าที่ทราบ กวรหลักในโคะคินชู ประกอบด้วบ อะริวะระ โนะ นะริฮิระ (Ariwara no Narihira),โอโนะ โนะ โคะมะจิ (Ono no Komachi),เฮนโจ (Henjō) ฟุจิวะระ โนะ โอคิคะเสะ (Fujiwara no Okikaze) และกวีมีชื่ออีกมากมาย นอกจากนั้น ยังรวบรวมบทกวีของผู้จัดทำทั้ง 4 คนด้วย และบทกวีของราชวงค์




== ศึกษาเพิ่มเติม ==
== ศึกษาเพิ่มเติม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:49, 2 มีนาคม 2552

ไฟล์:Kokin01.jpg
ปก โคะคินวะกะชู ฉบับ เก็นเอบ็อง ศตวรรษที่ 12

โคะคินวะกะชู (古今和歌集 , The Kokin Wakashū ) เรียกกันสั้นๆว่า โคะคินชู (古今集 , Kokinshū )ชื่อ หมายถึง ประชุมบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน เป็นหนังสือนประชุมบทร้อยกรองแบบวะกะ ที่จัดทำโดยสำนักพระราชวังในต้นยุคเฮอัน โดยพระราชดำริของจักรพรรรดิอุดะ ( Emperor Uda ค.ศ. 887–897) และจัดทำโดยพระราชรับสั่งของจักรพรรดิไดโกะ (Emperor Daigo ค.ศ 897–930) ราชโอรส ราวปี ค.ศ. 905 และสำเร็จในปี ค.ศ. 920 มีหลักฐานว่า ร้อยกรองบทสุดท้ายได้ถูกรวบรวมเข้าไปในราวปี ค.ศ. 914 ผู้รวมรวมเป็นกวีในราชสำนัก 4 คน นำโดย คิ โนะ ซึระยุกิ(Ki no Tsurayuki) , โอชิโคจิ มิตสึเนะ( Ōshikōchi Mitsune) ,มิบุ โนะ ทะดะมิเนะ (Mibu no Tadamine) รวมถึง คิ โนะ โทะโมะโนะริ ( Ki no Tomonori) ซึ่งเสียชีวิตก่อนที่จะรวบรวมประชุมบทร้อยกรองนี้เสร็จ


ความสำคัญ

ไฟล์:Kokin02.jpg
เนื้อหาใน โคะคินวะกะชู ฉบับ เก็นเอบ็อง ศตวรรษที่ 12

โคะคินชู เป็นประชุมร้อยกรองแบบญี่ปุ่น 21 ประเภท (二十一代集,Nijūichidaishūthe ) เล่มแรกที่รวบรวบขึ้นโดยพระราชประสงค์ของพระจักรพรรดิ และเป็นประชุมร้อยกรองที่แสดงถึงลักษณะของบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นในสมัยนั้นได้อย่างชัดเจน และกลายเป็นกฏของรบบการแต่งวะกะ หรือ บทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นสืบต่อมาจนถึงปลายศตวรรษที่ 19 เป็นประชุมร้อยกรองเล่มแรกที่แบ่งบทกวีออกเป็นประเภท กวรตามฤดูกาล และ บทกวีที่เกียวกับความรัก บทกวีเกี่ยวกับฤดูกาลในโคะคินชู สร้างแรงบันดาลใจจนพัฒนาเป็นรูปแบบของการแต่ง กวีแบบไฮกุ ในปัจจุบัน


คำนำ ของ โคะคินชู ที่เขียนโดย คิ โนะ ซึระยุกิ นั้นยังเขียนด้วยภาษาญี่ปุ่น ซึ่งแตกต่างจากหนังสือเล่มในยุกนั้นที่มักจะมีการเขียนคำนำเป็นภาษาจีน และใน โคะคินชู นี้ยังมีคำนำภาษาจที่เขียนโดย คิ โนะ โทะโมโนะริ (Ki no Tomonori) ด้วย ความคิดในการราวใรวมบทร้อยกรองตั้งแต่ยุคอดีตถึงปัจจุบันนั้น ยังเป็นความคิดสร้างสรรคที่สำคัญ ร้อยรองในประชุมร้อยกรอง จึงมีความหลากหลายทั้งรูปแบบและการใช้ภาษา แสดงให้เห็นรูปแบบของการพัฒนาของการแต่งกวีแบบวะกะ

โครงสร้างหมวดหมู่

ยังไม่มีข้อสรุปในปัจจุบันว่า จำนวนบทร้อยกรองใน โคะคินชู แท้จริงแล้วมีจำนวนเท่าไร แต่ โคะคินวะกะชู ฉบับออนไลน์ [1] มีบทกวีจำนวน 1,111 บท แบ่งเป็น 21 ส่วน ตามแบบของประชุมบทร้อยกรองแบบจีนที่เคยจัดทำกันมาก่อนหน้านี้อย่างเช่น มันโยชู

การแบ่งหมวดหมู่โคะคินชู ตามชื่อภาษาญี่ปุ่น[1], their modern readings[2][3], และแปลภาษาอังกฤษ[4].

หัวข้อ การแบ่งภาค
ฤดูกาล 1-2 บทกวีฤดูวสันต์ 春歌 haru no uta
3 บทกวีฤดูคิมหันต์ 夏歌 natsu no uta
4-5 บทกวีฤดูสารท 秋歌 aki no uta
6 บทกวีฤดูเหมันต์ 冬歌 fuyu no uta
 
7 บทกวีเฉลิมฉลอง 賀歌 ga no uta
8 บทกวีพลัดพราก 離別歌 wakare no uta
9 นิราศ 羈旅歌 tabi no uta
10 ปริศนากวี 物名 mono no na
ความรัก 11-15 ความรัก 恋歌 บทกวีรัก
อื่นๆ 16 ความเศร้า 哀傷歌 aishō no uta
17-18 เบ็ดเตล็ด 雑歌 kusagusa no uta
19 รูปแบบเบ็ดเตล็ด 雑躰歌 zattai no uta
20 Traditional Poems
from the Bureau of Song
大歌所御歌 ōutadokoro no on'uta


ประชุมบทกวียังบันทึกชื่อผู้แต่งของกวีในแต่ละบท และแรงบันดาลญี่ปุ่น: topicโรมาจิทับศัพท์: dai เท่าที่ทราบ กวรหลักในโคะคินชู ประกอบด้วบ อะริวะระ โนะ นะริฮิระ (Ariwara no Narihira),โอโนะ โนะ โคะมะจิ (Ono no Komachi),เฮนโจ (Henjō) ฟุจิวะระ โนะ โอคิคะเสะ (Fujiwara no Okikaze) และกวีมีชื่ออีกมากมาย นอกจากนั้น ยังรวบรวมบทกวีของผู้จัดทำทั้ง 4 คนด้วย และบทกวีของราชวงค์

ศึกษาเพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Online edition of the Kokin wakashu at the UVa Library Japanese Text Initiative.
  2. Miner (1985), pages 186–187
  3. McCullough
  4. Brower, pg 482
  • Saeki, Umetomo (1958). Nihon Koten Bungaku Taikei: Kokin Wakashū. Iwanami Shoten. ISBN 4-00-0600087. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  • Kojima, Noriyuki (1989). Shin Nihon Koten Bungaku Taikei: Kokin Wakashū. Iwanami Shoten. ISBN 4-00-240005-0. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Miner, Earl (1985). The Princeton Companion to Classical Japanese Literature. Princeton University Press. pp. 186–187. ISBN 0-691-06599-3. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • McCullough, Helen Craig (1985). Kokin Wakashū: The First Imperial Anthology of Japanese Poetry. Stanford University Press. ISBN 0-8047-1258-1. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)
  • Brower, Robert H. (1961). Japanese court poetry. Stanford University Press. LCCN 61-10925. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)