นิวคลีโอลิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นิวคลีโอลิน (Nucleolin) เป็นโปรตีนที่พบในเซลล์ยูคาริโอต ในมนุษย์กำหนดโดยยีน NCL[1][2] เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ไรโบโซม[3] พบในบริเวณที่คล้ายเส้นใยในนิวคลีโอลัส ในพืชพบครั้งแรกในรากหอมหัวใหญ่ ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคลายตัวของโครมาติน พบร่วมกับส่วนประกอบอื่นของนิวคลีโอลัสระหว่างการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Srivastava M, McBride OW, Fleming PJ, Pollard HB, Burns AL (Sep 1990). "Genomic organization and chromosomal localization of the human nucleolin gene". The Journal of Biological Chemistry. 265 (25): 14922–31. PMID 2394707.
  2. Erard MS, Belenguer P, Caizergues-Ferrer M, Pantaloni A, Amalric F (Aug 1988). "A major nucleolar protein, nucleolin, induces chromatin decondensation by binding to histone H1". European Journal of Biochemistry / FEBS. 175 (3): 525–30. doi:10.1111/j.1432-1033.1988.tb14224.x. PMID 3409881.
  3. "Entrez Gene: NCL nucleolin".
  4. นนทลี ชำนัญมนูญธรรม, ศิริพร ศรีภิญโญวณิชย์, และ ศุภจิตรา ชัชวาลย์. 2553. การแสดงออกในระยะแรกของยีน OsNUC1 ในข้าว (Oryza sativa L.) หลังจากได้รับภาวะเครียดทางกายภาพและบทบาทในการทนต่อภาวะเครียดจากโลหะหนัก. วารสารพฤกษศาสตร์ไทย. 2(1): 49-64.

ดูเพิ่ม[แก้]