ข้ามไปเนื้อหา

ชักแบบหัวเราะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาการชักแบบหัวเราะ
เนื้องอกในสมองชนิดฮาร์มาโตมาที่ไฮโปทาลามัส สามารถเป็นสาเหตุของอาการชักแบบหัวเราะได้
สาขาวิชาNeurology

ชักแบบหัวเราะ[1] (อังกฤษ: gelastic seizure) หรือ โรคลมชักแบบหัวเราะ (อังกฤษ: gelastic epilepsy) เป็นอาการชักชนิดหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยมีพลังพลุ่งพล่านอย่างทันทีทันใด โดยมักแสดงออกเป็นอาการหัวเราะ[2] มักไม่มีสิ่งกระตุ้นชัดเจน พบได้ในเพศชายบ่อยกว่าเล็กน้อย

สาเหตุ

[แก้]
Tuber cinereum hamartomas (also known as hypothalamic hemartoma) are at the hypothalamus between the mamillary bodies

โดยดั้งเดิมแล้วมักถือกันว่าอาการชักแบบหัวเราะเป็นอาการที่สัมพันธ์กับเนื้องอกในสมองชนิดฮาร์มาโตมาที่ไฮโปทาลามัส (hypothalamic harmatoma)[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "กรมการแพทย์เผย "อาการชักแบบหัวเราะ"". hfocus.org. 10 September 2022. สืบค้นเมื่อ 10 September 2022.
  2. "Not your everyday epilepsy" (PDF). Epilepsy Action Australia. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-17. สืบค้นเมื่อ 2011-07-04.
  3. C.P. Panayiotopoulos (2010). Atlas of epilepsies. London: Springer. p. 479. ISBN 9781848821279.